#บทสวดมนต์ที่ดีที่สุดในโลก
ดูก่อนภิกษุ !
เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วหรือ?
ได้ยินแล้ว พระเจ้าข้า!
ดูก่อนภิกษุ !
เธอจงรับเอา (อุคฺคณฺหาหิ) ธรรมปริยายนี้ไป
ดูก่อนภิกษุ !
เธอจงเล่าเรียน (ปริยาปุณาหิ) ธรรมปริยายนี้
ดูก่อนภิกษุ !
เธอจงทรงไว้ (ธาเรหิ) ซึ่งธรรมปริยายนี้
ดูก่อนภิกษุ !
ธรรมปริยายนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์
สูตรที่ ๕ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต์ นิทาน.สํ.๑๖/๙๐/๑๖๘
สูตรที่ ๑๐ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต์ สฬา.สํ.๑๘/๑๑๓/๑๖๔
--
ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท
ผู้นั้นชื่อว่า เห็นธรรม
ผู้ใดเห็นธรรม
ผู้นั้นชื่อว่า เห็นปฏิจจสมุปบาท
มหาหัตถิปโทปมสูตร มู.ม.๑๒/๓๕๙, ๓๖๐/๓๔๖
และพระศาสดาก็ตรัสยืนยันการเห็นธรรม คือ ปฏิจจสมุปบาท แก่วักกลิไว้ทำนองเดียวกัน
อย่าเลย วักกลิ !
ประโยชน์อะไร ด้วยการเห็นกายเน่านี้
ดูก่อนวักกลิ !
ผู้ใดเห็นธรรม
ผู้นั้นเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา
ผู้นั้นเห็นธรรม
ดูก่อนวักกลิ !
เพราะว่า
เมื่อเห็นธรรมอยู่ ก็คือเห็นเรา
เมื่อเห็นเราอยู่ ก็คือเห็นธรรม
วักกลิสูตร เถรวรรค มัชฌิมปัณณาสก์ ขนฺธ. สํ.๑๗/๑๔๖-๗/๒๑๖
--
นั่นหมายความว่า
พระศาสดาประเมินค่า ปฏิจจสมุปบาท เสมอ พระองค์เอง
และนอกจาก บทสวด ปฏิจจสมุปบาท
ซึ่งถือว่า ดีที่ดีที่สุดในโลก
บทสวดอื่น ๆ ในฐานะพระธรรมที่พระศาสดาตรัสไว้ดีแล้ว
ก็มีคุณค่าเทียบเท่ากัน
ด้วยเหตุผลธรรมดาสามัญ คือ ความเป็น อกาลิโก
และความถูกต้อง ตรงจริง ไม่จำกัดกาล
นี่แหละทำให้ การสาธยายบทสวดมนต์จากพระโอษฐ์
มีคุณประโยชน์และอานิสงส์
ดังที่พระศาสดาตรัสไว้ในหลายประการด้วยกัน
--
#การสาธยายธรรม(การสวดมนต์)ตามพุทธบัญญัติ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
-
สำหรับผู้ประสงค์การสาธยายธรรม (สชฺฌาย) คำที่ตรัสจากพระโอษฐ์
ของตถาคตนั้นเป็นสิ่งที่สมควรต่อการสาธยายได้ทั้งหมด แต่บท
ที่พระองค์สาธยายด้วยพระองค์เองเมื่ออยู่วิเวกหลีกเร้นผู้เดียวนั้นคือ
อิทัััปปัจจยตาและปฏิจจสมุปบาท
--
อีกประการหนึ่ง ภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมทำาการสาธยายธรรม
ตามที่ได้ฟังมา ตามที่ได้เล่าเรียนมา แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร
นี้เป็นธรรมข้อที่ ๔
ซึ่งทำให้สัทธรรมตั้งมั่น
ไม่ลบเลือนจนเสื่อมสูญไป
อีกประการหนึ่ง ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมตรึกตรอง เพ่งดูด้วยใจ ซึ่งธรรม
ตามที่ได้ฟังมา ตามที่ได้เล่าเรียนมา โดยพิสดาร
นี้เป็นธรรมข้อที่ ๕
ซึ่งทำให้สัทธรรมตั้งมั่น
ไม่ลบเลือนจนเสื่อมสูญไป
-
(ในที่นี้ยกมา ๒ ข้อ จาก ๕ ข้อ ของธรรม ๕ ประการ ซึ่งทำให้สัทธรรมตั้งมั่น ไม่ลบเลือนจนเสื่อมสูญไป)
-บาลี ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๙๗/๑๕๕.
-
#ประโยชน์ของการสาธยายธรรม
๑. เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม
(หนึ่งในเหตุห้าประการเพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม)
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๖๑/๑๕๕.
๒. เป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ
(หนึ่งในธรรมให้ถึงวิมุตติห้าประการ)
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๓/๒๖.
๓. เป็นอาหารของความเป็นพหูสูต
ทสก. อํ. ๒๔/๑๒๐/๗๓.
๔. เป็นองค์ประกอบของการเป็นบริษัทที่เลิศ
ทุก. อํ. ๒๐/๖๘/๒๙๒.
๕. ทำให้ไม่เป็นมลทิน
อฎฺก. อํ. ๒๓/๑๔๙/๑๐๕.
๖. เป็นบริขารของจิตเพื่อความไม่มีเวรไม่เบียดเบียน
(หนึ่งในห้าบริขารของจิต)
มู. ม. ๑๓/๕๐๐/๗๒๘.
๗. เป็นเหตุให้ละความง่วงได้
(หนึ่งในแปดวิธีละความง่วง)
สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๓/๕๘.
--
#วิธีการสาธยายธรรมให้แจ่มแจ้งได้นาน
ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่ถูกเหนี่ยวรั้ง ย่อมรู้ย่อมเห็นอุบายเป็นเครื่องสลัด
ออกซึ่งนิวรณ์ทั้งห้า (กามราคะ, พยาบาท, ถีนมิทธะ, อุทธัจจกุกกุจจะ,
วิจิกิจฉา) ทำให้รู้เห็นประโยชน์ตามที่เป็นจริง
- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๖๖/๖๐๓.
--
#ข้อควรระวังและวิธีป้องกันในการสาธยายธรรม
...อีกอย่างหนึ่ง, ภิกษุ ทำการสาธยายธรรม ตามที่ได้ฟัง
ได้เรียนมาโดยพิสดาร, แต่เธอไม่รู้ทั่วถึงความหมายอันยิ่งแห่งธรรมนั้นๆ
ด้วยปัญญา. ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผู้มากด้วยการสวด (นักสวด) ยังมิใช่
ธรรมวิหารี (ผู้อยู่ด้วยธรรม)...
...เธอไม่ใช้วันทั้งวันให้เปลืองไปด้วยการเรียนธรรมนั้นๆ
ไม่เริดร้างจากการหลีกเร้น, ประกอบตามซึ่งธรรมเป็นเครื่องสงบใจ
ในภายในเนืองๆ. ภิกษุอย่างนี้แล ชื่อว่า ธรรมวิหารี (ผู้อยู่ด้วยธรรม)...
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๙-๑๐๐/๗๓-๗๔.
--
#บทสาธยายธรรมระลึกถึงพระพุทธเจ้า
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปัชชะติ
ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้
อะระหัง
เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ
ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน
เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
สุคะโต
เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู
เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
เป็นผู้สามารถฝึกคนที่ควรฝึก
อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมะนุสสานัง
เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยธรรม
ภะคะวา
เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์
โส อิมัง โลกัง
ตถาคตนั้นทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้
สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง๎
สัสสะมะณะพ๎
ราห๎มะณิง
กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์
พร้อมทั้งสมณพราหมณ์
ดูก่อนภิกษุ !
เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วหรือ?
ได้ยินแล้ว พระเจ้าข้า!
ดูก่อนภิกษุ !
เธอจงรับเอา (อุคฺคณฺหาหิ) ธรรมปริยายนี้ไป
ดูก่อนภิกษุ !
เธอจงเล่าเรียน (ปริยาปุณาหิ) ธรรมปริยายนี้
ดูก่อนภิกษุ !
เธอจงทรงไว้ (ธาเรหิ) ซึ่งธรรมปริยายนี้
ดูก่อนภิกษุ !
ธรรมปริยายนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์
สูตรที่ ๕ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต์ นิทาน.สํ.๑๖/๙๐/๑๖๘
สูตรที่ ๑๐ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต์ สฬา.สํ.๑๘/๑๑๓/๑๖๔
--
ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท
ผู้นั้นชื่อว่า เห็นธรรม
ผู้ใดเห็นธรรม
ผู้นั้นชื่อว่า เห็นปฏิจจสมุปบาท
มหาหัตถิปโทปมสูตร มู.ม.๑๒/๓๕๙, ๓๖๐/๓๔๖
และพระศาสดาก็ตรัสยืนยันการเห็นธรรม คือ ปฏิจจสมุปบาท แก่วักกลิไว้ทำนองเดียวกัน
อย่าเลย วักกลิ !
ประโยชน์อะไร ด้วยการเห็นกายเน่านี้
ดูก่อนวักกลิ !
ผู้ใดเห็นธรรม
ผู้นั้นเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา
ผู้นั้นเห็นธรรม
ดูก่อนวักกลิ !
เพราะว่า
เมื่อเห็นธรรมอยู่ ก็คือเห็นเรา
เมื่อเห็นเราอยู่ ก็คือเห็นธรรม
วักกลิสูตร เถรวรรค มัชฌิมปัณณาสก์ ขนฺธ. สํ.๑๗/๑๔๖-๗/๒๑๖
--
นั่นหมายความว่า
พระศาสดาประเมินค่า ปฏิจจสมุปบาท เสมอ พระองค์เอง
และนอกจาก บทสวด ปฏิจจสมุปบาท
ซึ่งถือว่า ดีที่ดีที่สุดในโลก
บทสวดอื่น ๆ ในฐานะพระธรรมที่พระศาสดาตรัสไว้ดีแล้ว
ก็มีคุณค่าเทียบเท่ากัน
ด้วยเหตุผลธรรมดาสามัญ คือ ความเป็น อกาลิโก
และความถูกต้อง ตรงจริง ไม่จำกัดกาล
นี่แหละทำให้ การสาธยายบทสวดมนต์จากพระโอษฐ์
มีคุณประโยชน์และอานิสงส์
ดังที่พระศาสดาตรัสไว้ในหลายประการด้วยกัน
--
#การสาธยายธรรม(การสวดมนต์)ตามพุทธบัญญัติ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
-
สำหรับผู้ประสงค์การสาธยายธรรม (สชฺฌาย) คำที่ตรัสจากพระโอษฐ์
ของตถาคตนั้นเป็นสิ่งที่สมควรต่อการสาธยายได้ทั้งหมด แต่บท
ที่พระองค์สาธยายด้วยพระองค์เองเมื่ออยู่วิเวกหลีกเร้นผู้เดียวนั้นคือ
อิทัััปปัจจยตาและปฏิจจสมุปบาท
--
อีกประการหนึ่ง ภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมทำาการสาธยายธรรม
ตามที่ได้ฟังมา ตามที่ได้เล่าเรียนมา แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร
นี้เป็นธรรมข้อที่ ๔
ซึ่งทำให้สัทธรรมตั้งมั่น
ไม่ลบเลือนจนเสื่อมสูญไป
อีกประการหนึ่ง ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมตรึกตรอง เพ่งดูด้วยใจ ซึ่งธรรม
ตามที่ได้ฟังมา ตามที่ได้เล่าเรียนมา โดยพิสดาร
นี้เป็นธรรมข้อที่ ๕
ซึ่งทำให้สัทธรรมตั้งมั่น
ไม่ลบเลือนจนเสื่อมสูญไป
-
(ในที่นี้ยกมา ๒ ข้อ จาก ๕ ข้อ ของธรรม ๕ ประการ ซึ่งทำให้สัทธรรมตั้งมั่น ไม่ลบเลือนจนเสื่อมสูญไป)
-บาลี ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๙๗/๑๕๕.
-
#ประโยชน์ของการสาธยายธรรม
๑. เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม
(หนึ่งในเหตุห้าประการเพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม)
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๖๑/๑๕๕.
๒. เป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ
(หนึ่งในธรรมให้ถึงวิมุตติห้าประการ)
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๓/๒๖.
๓. เป็นอาหารของความเป็นพหูสูต
ทสก. อํ. ๒๔/๑๒๐/๗๓.
๔. เป็นองค์ประกอบของการเป็นบริษัทที่เลิศ
ทุก. อํ. ๒๐/๖๘/๒๙๒.
๕. ทำให้ไม่เป็นมลทิน
อฎฺก. อํ. ๒๓/๑๔๙/๑๐๕.
๖. เป็นบริขารของจิตเพื่อความไม่มีเวรไม่เบียดเบียน
(หนึ่งในห้าบริขารของจิต)
มู. ม. ๑๓/๕๐๐/๗๒๘.
๗. เป็นเหตุให้ละความง่วงได้
(หนึ่งในแปดวิธีละความง่วง)
สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๓/๕๘.
--
#วิธีการสาธยายธรรมให้แจ่มแจ้งได้นาน
ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่ถูกเหนี่ยวรั้ง ย่อมรู้ย่อมเห็นอุบายเป็นเครื่องสลัด
ออกซึ่งนิวรณ์ทั้งห้า (กามราคะ, พยาบาท, ถีนมิทธะ, อุทธัจจกุกกุจจะ,
วิจิกิจฉา) ทำให้รู้เห็นประโยชน์ตามที่เป็นจริง
- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๖๖/๖๐๓.
--
#ข้อควรระวังและวิธีป้องกันในการสาธยายธรรม
...อีกอย่างหนึ่ง, ภิกษุ ทำการสาธยายธรรม ตามที่ได้ฟัง
ได้เรียนมาโดยพิสดาร, แต่เธอไม่รู้ทั่วถึงความหมายอันยิ่งแห่งธรรมนั้นๆ
ด้วยปัญญา. ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผู้มากด้วยการสวด (นักสวด) ยังมิใช่
ธรรมวิหารี (ผู้อยู่ด้วยธรรม)...
...เธอไม่ใช้วันทั้งวันให้เปลืองไปด้วยการเรียนธรรมนั้นๆ
ไม่เริดร้างจากการหลีกเร้น, ประกอบตามซึ่งธรรมเป็นเครื่องสงบใจ
ในภายในเนืองๆ. ภิกษุอย่างนี้แล ชื่อว่า ธรรมวิหารี (ผู้อยู่ด้วยธรรม)...
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๙-๑๐๐/๗๓-๗๔.
--
#บทสาธยายธรรมระลึกถึงพระพุทธเจ้า
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปัชชะติ
ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้
อะระหัง
เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ
ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน
เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
สุคะโต
เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู
เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
เป็นผู้สามารถฝึกคนที่ควรฝึก
อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมะนุสสานัง
เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยธรรม
ภะคะวา
เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์
โส อิมัง โลกัง
ตถาคตนั้นทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้
สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง๎
สัสสะมะณะพ๎
ราห๎มะณิง
กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์
พร้อมทั้งสมณพราหมณ์
ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง
เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์
สะยัง อภิญญา
ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว
สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ
สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม
โส ธัมมัง เทเสสิ
ตถาคตนั้นแสดงธรรม
อาทิกัล๎ยาณัง
ไพเราะในเบื้องต้น
มัชเฌกัล๎ยาณัง
ไพเราะในท่ามกลาง
ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง
ไพเราะในที่สุด
สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง
ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสติ
ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือ
แบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ
บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง
พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้งพยัญชนะ ดังนี้
อุปริ. ม. ๑๔/๑๗/๑๖.
--
#บทสาธยายธรรมระลึกถึงพระธรรม
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ตรัสไว้ดีแล้ว
สันทิฏฐิโก
เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ
พึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก
เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก
เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก
เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญู...ติ
เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๗/๑๔๑๒.
--
#บทสาธยายธรรมระลึกถึงพระสงฆ์
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม
เป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติสมควรแล้ว
ยะทิทัง
ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
นั่นแหละ คือสงฆ์สาวก
ของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยโย
เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา
ปาหุเนยโย
เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ
ทักขิเณยโย
เป็นสงฆ์ควรรับทักษิณาทาน
อัญชะลิกะระณีโย
เป็นสงฆ์ที่บุคคลทั่วไปจะพึงทำอัญชลี
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
เป็นสงฆ์ที่เป็นนาบุญของโลก
ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๗/๑๔๑๒
--
#บทสาธยายธรรมแก้ความหวาดกลัว
อะรัญ... รุกขะมูเล วา สุญญาคาเรวะ
ภิกขะโว
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลายอยู่ในป่า
หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่ในเรือนว่างก็ตาม
อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหากัง
โน สิยา
พึงระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเถิด
ความกลัวก็จะไม่พึงมีแก่พวกเธอทั้งหลาย
โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะเชฏฐัง
นะราสะภัง
แต่ถ้าเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระพุทธเจ้า
ซึ่งเป็นผู้เจริญแห่งโลก เป็นผู้ประเสริฐ
แห่งนรชน มิได้ไซร้
เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์
สะยัง อภิญญา
ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว
สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ
สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม
โส ธัมมัง เทเสสิ
ตถาคตนั้นแสดงธรรม
อาทิกัล๎ยาณัง
ไพเราะในเบื้องต้น
มัชเฌกัล๎ยาณัง
ไพเราะในท่ามกลาง
ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง
ไพเราะในที่สุด
สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง
ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสติ
ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือ
แบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ
บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง
พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้งพยัญชนะ ดังนี้
อุปริ. ม. ๑๔/๑๗/๑๖.
--
#บทสาธยายธรรมระลึกถึงพระธรรม
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ตรัสไว้ดีแล้ว
สันทิฏฐิโก
เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ
พึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก
เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก
เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก
เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญู...ติ
เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๗/๑๔๑๒.
--
#บทสาธยายธรรมระลึกถึงพระสงฆ์
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม
เป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติสมควรแล้ว
ยะทิทัง
ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
นั่นแหละ คือสงฆ์สาวก
ของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยโย
เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา
ปาหุเนยโย
เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ
ทักขิเณยโย
เป็นสงฆ์ควรรับทักษิณาทาน
อัญชะลิกะระณีโย
เป็นสงฆ์ที่บุคคลทั่วไปจะพึงทำอัญชลี
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
เป็นสงฆ์ที่เป็นนาบุญของโลก
ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๗/๑๔๑๒
--
#บทสาธยายธรรมแก้ความหวาดกลัว
อะรัญ... รุกขะมูเล วา สุญญาคาเรวะ
ภิกขะโว
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลายอยู่ในป่า
หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่ในเรือนว่างก็ตาม
อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหากัง
โน สิยา
พึงระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเถิด
ความกลัวก็จะไม่พึงมีแก่พวกเธอทั้งหลาย
โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะเชฏฐัง
นะราสะภัง
แต่ถ้าเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระพุทธเจ้า
ซึ่งเป็นผู้เจริญแห่งโลก เป็นผู้ประเสริฐ
แห่งนรชน มิได้ไซร้
อะถะ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง
สุเทสิตัง
ก็พึงระลึกถึงพระธรรม
อันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
ที่เราแสดงไว้ดีแล้วเถิด
โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง
สุเทสิตัง
แต่ถ้าเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระธรรม
อันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
ที่เราแสดงไว้ดีแล้ว มิได้ไซร้
อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง
อะนุตตะรัง
ก็พึงระลึกถึงพระสงฆ์
ผู้เป็นเนื้อนาบุญของโลก
ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่าเถิด
เอวัง พุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ
ภิกขะโว
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลาย
ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้
ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส
นะ เหสสะตีติ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี
ความขนพองสยองเกล้าก็ดี
จักไม่มีเลย ดังนี้.
สคาถ. สํ. ๑๕/๓๒๓/๘๖๖
--
#บทสาธยายธรรม #ปฏิจจสมุปบาท
สุเทสิตัง
ก็พึงระลึกถึงพระธรรม
อันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
ที่เราแสดงไว้ดีแล้วเถิด
โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง
สุเทสิตัง
แต่ถ้าเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระธรรม
อันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
ที่เราแสดงไว้ดีแล้ว มิได้ไซร้
อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง
อะนุตตะรัง
ก็พึงระลึกถึงพระสงฆ์
ผู้เป็นเนื้อนาบุญของโลก
ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่าเถิด
เอวัง พุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ
ภิกขะโว
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลาย
ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้
ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส
นะ เหสสะตีติ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี
ความขนพองสยองเกล้าก็ดี
จักไม่มีเลย ดังนี้.
สคาถ. สํ. ๑๕/๓๒๓/๘๖๖
--
#บทสาธยายธรรม #ปฏิจจสมุปบาท
อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก ปะฏิจจะ-
สะมุปปาทัญ...วะ สาธุกัง โยนิโส
มะนะสิกะโรติ
ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้
ย่อมกระทำไว้ในใจโดยแยบคายเป็นอย่างดี
ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้ว่า
สะมุปปาทัญ...วะ สาธุกัง โยนิโส
มะนะสิกะโรติ
ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้
ย่อมกระทำไว้ในใจโดยแยบคายเป็นอย่างดี
ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้ว่า
อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ
เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ย่อมมี
อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ
เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ
เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี
อิมัส๎î๎สะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ
เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป
เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ย่อมมี
อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ
เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ
เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี
อิมัส๎î๎สะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ
เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป
ยะทิทัง
ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ
อะวิชชาปัจจะยา สังขารา
เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย
จึงมีสังขารทั้งหลาย
สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง
เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง
เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง
เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส
เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
ผัสสะปัจจะยา เวทะนา
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เวทะนาปัจจะยา ตัณหา
เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
ตัณหาปัจจะยา อุปาทานัง
เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
อุปาทานะปัจจะยา ภะโว
เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
ภะวะปัจจะยา ชาติ
เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง โสกะปะริ-
เทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ
เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะ-
ปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย
จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
สะมุทะโย โหติ
ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้
ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้
ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ
อะวิชชาปัจจะยา สังขารา
เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย
จึงมีสังขารทั้งหลาย
สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง
เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง
เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง
เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส
เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
ผัสสะปัจจะยา เวทะนา
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เวทะนาปัจจะยา ตัณหา
เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
ตัณหาปัจจะยา อุปาทานัง
เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
อุปาทานะปัจจะยา ภะโว
เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
ภะวะปัจจะยา ชาติ
เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง โสกะปะริ-
เทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ
เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะ-
ปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย
จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
สะมุทะโย โหติ
ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้
ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้
อะวิชชายะเต๎ววะ อเสสะวิราคะนิโรธา
สังขาระนิโรโธ
เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ
แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว จึงมีความดับ
แห่งสังขาร
สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งสังขาร
จึงมีความดับแห่งวิญญาณ
วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ
จึงมีความดับแห่งนามรูป
นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งนามรูป
จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ
สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ
จึงมีความดับแห่งผัสสะ
ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งผัสสะ
จึงมีความดับแห่งเวทนา
เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งเวทนา
จึงมีความดับแห่งตัณหา
ตัณหานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งตัณหา
จึงมีความดับแห่งอุปาทาน
อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน
จึงมีความดับแห่งภพ
ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งภพ
จึงมีความดับแห่งชาติ
ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะ-
ทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ
เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะ
ทั้งหลายจึงดับสิ้น
เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
นิโรโธ โหตีติ
ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้
ย่อมมีิ ด้วยอาการอย่างนี้ ดังนี้
นิทาน. สํ. ๑๖/๘๕/๑๕๙.
--
#กฏอิทัปปัจจยตา : #หัวใจปฏิจจสมุปบาท.
อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ
เมื่อสิ่งนี้ “มี” สิ่งนี้ ย่อมมี
อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ
เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.
อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ
เมื่อสิ่งนี้ “ไม่มี” สิ่งนี้ ย่อมไม่มี
อิมัสสะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ
เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป.
มม. ๑๓๓๕๕๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖๘๔๑๕๔
สังขาระนิโรโธ
เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ
แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว จึงมีความดับ
แห่งสังขาร
สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งสังขาร
จึงมีความดับแห่งวิญญาณ
วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ
จึงมีความดับแห่งนามรูป
นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งนามรูป
จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ
สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ
จึงมีความดับแห่งผัสสะ
ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งผัสสะ
จึงมีความดับแห่งเวทนา
เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งเวทนา
จึงมีความดับแห่งตัณหา
ตัณหานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งตัณหา
จึงมีความดับแห่งอุปาทาน
อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน
จึงมีความดับแห่งภพ
ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ
เพราะมีความดับแห่งภพ
จึงมีความดับแห่งชาติ
ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะ-
ทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ
เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะ
ทั้งหลายจึงดับสิ้น
เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
นิโรโธ โหตีติ
ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้
ย่อมมีิ ด้วยอาการอย่างนี้ ดังนี้
นิทาน. สํ. ๑๖/๘๕/๑๕๙.
--
#กฏอิทัปปัจจยตา : #หัวใจปฏิจจสมุปบาท.
อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ
เมื่อสิ่งนี้ “มี” สิ่งนี้ ย่อมมี
อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ
เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.
อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ
เมื่อสิ่งนี้ “ไม่มี” สิ่งนี้ ย่อมไม่มี
อิมัสสะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ
เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป.
มม. ๑๓๓๕๕๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖๘๔๑๕๔
#ปฏิจจสมุปบาท แห่ง #ความสิ้นสุดของโลก
นะติยา อะสะติ อาคะติคะติ นะ โหติ
เมื่อความน้อมไป ไม่มี, การมาและการไป ย่อมไม่มี
อาคะติคะติยา อะสะติ จุตูปะปาโต นะ โหติ
เมื่อการมาและการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการเกิดขึ้น ย่อมไม่มี
จุตูปะปาเต อะสะติ เนวิธะ นะ หุรัง นะ อุภะยะมันตะเร
เมื่อการเคลื่อนและการเกิดขึ้น ไม่มี, อะไรๆ ก็ไม่มีในโลกนี้
ไม่มีในโลกอื่น ไม่มีในระหว่างแห่งโลกทั้งสอง
เอเสวันโต ทุกขัสสะนั่นแหละ คือที่สุดแห่งทุกข์ละ.
อุทานขุ. ๒๕๒๐๘๑๖๑
นะติยา อะสะติ อาคะติคะติ นะ โหติ
เมื่อความน้อมไป ไม่มี, การมาและการไป ย่อมไม่มี
อาคะติคะติยา อะสะติ จุตูปะปาโต นะ โหติ
เมื่อการมาและการไป ไม่มี, การเคลื่อนและการเกิดขึ้น ย่อมไม่มี
จุตูปะปาเต อะสะติ เนวิธะ นะ หุรัง นะ อุภะยะมันตะเร
เมื่อการเคลื่อนและการเกิดขึ้น ไม่มี, อะไรๆ ก็ไม่มีในโลกนี้
ไม่มีในโลกอื่น ไม่มีในระหว่างแห่งโลกทั้งสอง
เอเสวันโต ทุกขัสสะนั่นแหละ คือที่สุดแห่งทุกข์ละ.
อุทานขุ. ๒๕๒๐๘๑๖๑
#สิ้นนันทิ #สิ้นราคะ
สัมมา ปัสสัง นิพพินทะติ;
เมื่อเห็นอยู่โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย
นันทิกขะยา ราคักขะโย;
เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ(คือความเพลิน) จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ(คือความพอใจ)
ราคักขะยา นันทิกขะโย;
เพราะความสิ้นไปแห่ง ราคะ จึงมีความสิ้นไปแห่ง นันทิ
นันทิราคักขะยา จิตตัง สุวิมุตตันติ วุจจะติ.
เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิและราคะ กล่าวได้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี” ดังนี้.
(สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕-๖.)
---
การสาธยายธรรมใครจะสาธยายธรรมบทใดก็ได้ที่เป็นธรรมจากพระโอษฐ์ของพระตถาคต
สัมมา ปัสสัง นิพพินทะติ;
เมื่อเห็นอยู่โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย
นันทิกขะยา ราคักขะโย;
เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ(คือความเพลิน) จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ(คือความพอใจ)
ราคักขะยา นันทิกขะโย;
เพราะความสิ้นไปแห่ง ราคะ จึงมีความสิ้นไปแห่ง นันทิ
นันทิราคักขะยา จิตตัง สุวิมุตตันติ วุจจะติ.
เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิและราคะ กล่าวได้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี” ดังนี้.
(สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕-๖.)
---
การสาธยายธรรมใครจะสาธยายธรรมบทใดก็ได้ที่เป็นธรรมจากพระโอษฐ์ของพระตถาคต
ก็จักเป็นประโยชน์กับเราทั้งสิ้นเพราะการสวดแบบนี้สวดเพื่อให้รู้ถึงบทธรรมที่พระองค์ทรงแสดงไว้ดีแล้วให้เราเข้าใจเหมือนเป็นการสวดท่องทบทวน
เพื่อให้ขึ้นใจแทงตลอดด้วยดี เพื่อใคร่ครวญเกื้อหนุนกันในการเจริญอานาปานสติ หรือการดำเนินชีวิตประจำวันได้
เมื่อเรา ไปซื้อของถ้าเราท่องสูตรคูณไม่ได้เราก็บวกลบคูณหารไม่ได้ ฉันใด
ถ้าเราไม่จำธรรมของตถาคต เราจักเอาธรรมอันใดมาใคร่ครวญคิดพิจารณาเมื่อเกิดปัญหา ฉันนั้น!!
ในปัจจุบัน ตามวัด และตามร้านหนังสือ มีแต่หนังสือสวดมนต์ซึ่งเป็นคำแต่งใหม่ผสมปนกันไปกับคำตถาคต
จุดประสงค์เป็นไปเพื่อ การขอ อ้อนวอน ต่างๆ ซึ่งอาจรวมเดรัจฉานวิชาต่างๆด้วย ใครที่ทำหนังสือแต่งใหม่เพื่อเป็นธรรมทานให้หยุดทำเพราะเป็นการทำลายคำสอนของพระพุทธเจ้า เพราะคำแต่งใหม่มีมาก คนก็จะหันไปสนคำแต่งใหม่โดยแก่นแท้คำสอนของพระองค์ก็จะค่อยๆหายไป
--
#สุตตะ แก้ปัญหาได้ทุกเรื่อง
อานนท์! บุคคลบางคนในโลกนี้
เป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล, เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน
และไม่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือ
แห่งความเป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล,
เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ของเขาตามความเป็นจริง
บุคคลนั้น ไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต
ไม่แทงตลอดแม้ด้วยความเห็น ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย
เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ
ย่อมถึงความเสื่อม ไม่ถึงความเจริญ...
อานนท์! ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้
เป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล, เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน
แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือ
แห่งความเป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล,
เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ของเขาตามความเป็นจริง
บุคคลนั้น กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต
แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยความเห็น ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย
เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม
ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม ...
เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้องบุคคลนี้
ใครเล่าจะพึงรู้เหตุนั้นได้ นอกจากตถาคต
อานนท์ ! เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลาย
อย่าได้เป็นผู้ชอบประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณในบุคคล
เพราะผู้ถือประมาณในบุคคลย่อมทำลายคุณวิเศษของตน
เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ... .
-บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๗/๗๕.
--
ใครอยากสวดบทเพิ่มเติมที่ เป็นพุทธวจน ธรรมจากพระโอษฐ์
ได้ที่ http://watnapp.com/book
--
ไฟล์เสียงอ่าน..หนังสือสาธยายธรรม
https://www.youtube.com/watch?v=sTkR_ItbE3o
--
E-Book เปิดอ่านได้เลย หรือ ดาวน์โหลดไฟล์หนังสือสาธยายธรรม
http://www.ebooks.in.th/ebook/1946/topseller.html
--
ดาวน์โหลดหนังสือ พุทธวจน
http://buddhawatjana.blogspot.com/2012/07/pdf.html
--
--
#สุตตะ แก้ปัญหาได้ทุกเรื่อง
อานนท์! บุคคลบางคนในโลกนี้
เป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล, เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน
และไม่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือ
แห่งความเป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล,
เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ของเขาตามความเป็นจริง
บุคคลนั้น ไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต
ไม่แทงตลอดแม้ด้วยความเห็น ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย
เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ
ย่อมถึงความเสื่อม ไม่ถึงความเจริญ...
อานนท์! ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้
เป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล, เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน
แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติอันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือ
แห่งความเป็นผู้ทุศีล, เป็นผู้มีศีล,
เป็นผู้มีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ของเขาตามความเป็นจริง
บุคคลนั้น กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต
แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยความเห็น ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย
เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม
ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม ...
เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้องบุคคลนี้
ใครเล่าจะพึงรู้เหตุนั้นได้ นอกจากตถาคต
อานนท์ ! เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลาย
อย่าได้เป็นผู้ชอบประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณในบุคคล
เพราะผู้ถือประมาณในบุคคลย่อมทำลายคุณวิเศษของตน
เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ... .
-บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๗/๗๕.
--
ใครอยากสวดบทเพิ่มเติมที่ เป็นพุทธวจน ธรรมจากพระโอษฐ์
ได้ที่ http://watnapp.com/book
--
ไฟล์เสียงอ่าน..หนังสือสาธยายธรรม
https://www.youtube.com/watch?v=sTkR_ItbE3o
--
E-Book เปิดอ่านได้เลย หรือ ดาวน์โหลดไฟล์หนังสือสาธยายธรรม
http://www.ebooks.in.th/ebook/1946/topseller.html
--
ดาวน์โหลดหนังสือ พุทธวจน
http://buddhawatjana.blogspot.com/2012/07/pdf.html
--
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น