วันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2562
ในหนึ่งวันเราอยู่ด้วยวิหารธรรมใด กุศล หรือ อกุศล Buddhakos media สนทนาธร...
เราสามารถเปลี่ยนการส่งผลของกรรมได้ สัตว์โลกล้วนเป็นไปตามกรรม ในหนึ่งวันเราอยู่ด้วยวิหารธรรมใด กุศล หรือ อกุศล Buddhakos media สนทนาธรรมเช้าวันอาทิตย์ที่ 27
สัตว์โลกเป็นไปตามกรรม(เก่า).กุศลมูล อกุศลมูล.ผลักดันให้เราเกิดพฤติกรรมในปัจจุบันกรรมใหม่จะเป็นดำหรือขาว ขึ้นอยู่กับเราเลือกปฏิบัติเอง
🙏🙏🙏
CR. Buddhakos media สนทนาธรรมเช้าวันอาทิตย์ที่ 27
https://youtu.be/h45gS14V9co
****บุคคล ๓ จำพวก***
**********************
***คนหนึ่งเป็นผู้ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
***คนหนึ่งเป็นผู้เสื่อมเป็นธรรมดา
***คนหนึ่งเป็นผู้จะปรินิพพานเป็นธรรมดา ฯ
*****
เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว
ท่านพระอานนท์ทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
พระผู้มีพระภาคทรงสามารถบัญญัติบุคคล ๓ จำพวกนี้
ออกเป็นส่วนละ ๓ อีกหรือพระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
สามารถ อานนท์
เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า
กุศลธรรมก็ดี
อกุศลธรรมก็ดีของบุคคลนี้มีอยู่
สมัยต่อมา
เรากำหนดรู้ใจบุคคลนั้น
ด้วยใจอย่างนี้ว่า
กุศลธรรมของบุคคลนี้หายไป
อกุศลธรรมปรากฏขึ้นเฉพาะหน้า
แต่กุศลมูลที่เขายังตัดไม่ขาดมีอยู่
กุศลมูลนั้นก็ถึงความถอนขึ้นโดยประการทั้งปวง ด้วยประการอย่างนี้
***บุคคลนี้จักเป็นผู้เสื่อมต่อไปเป็นธรรมดา***
เปรียบเหมือนถ่านไฟที่ไฟติดทั่วแล้วลุกโพลงสว่างไสว
อันบุคคลเก็บไว้บนศิลาทึบ
เธอพึงทราบไหมว่า
ถ่านไฟเหล่านี้จักไม่ถึงความเจริญงอกงาม
ไพบูลย์ ฯ
อา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรอานนท์ อนึ่ง เปรียบเหมือนเมื่อพระอาทิตย์ตกไปในเวลาเย็น เธอพึงทราบไหมว่า แสงสว่างจักหายไป ความมืดจักปรากฏ ฯ
อา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรอานนท์ อนึ่ง เปรียบเหมือนในเวลาเสวยพระกระยาหารของราชสกูลใน
เวลาเที่ยงคืน เธอพึงทราบไหมว่า แสงสว่างหายไปหมดแล้ว ความมืดได้ปรากฏแล้ว ฯ
อา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรอานนท์ เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า
กุศลธรรมก็ดี อกุศลธรรมก็ดี ของบุคคลนี้มีอยู่
สมัยต่อมา
เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลนั้นด้วยใจอย่างนี้ว่า
กุศลธรรมของบุคคลนี้หายไป
อกุศลธรรมปรากฏขึ้นเฉพาะหน้า
แต่กุศลมูลที่เขายังตัดไม่ขาดมีอยู่
กุศลมูลแม้นั้นก็ถึงความถอนขึ้นโดยประการทั้งปวง
ด้วยประการอย่างนี้
***บุคคลนี้จักเป็นผู้เสื่อมต่อไปเป็นธรรมดา***
ฉันนั้นเหมือนกัน ดูกรอานนท์
ตถาคตกำหนดรู้ใจบุคคลด้วยใจแม้อย่างนี้
กำหนดรู้ญาณเป็นเครื่องทราบอินทรีย์ของบุรุษด้วยใจแม้อย่างนี้
กำหนดรู้ธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นต่อไปด้วยใจ แม้ด้วยประการอย่างนี้ ฯ
ดูกรอานนท์ อนึ่ง เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า
กุศลธรรมก็ดี
อกุศลธรรมก็ดี
ของบุคคลนี้มีอยู่
สมัยต่อมา
เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลนั้นด้วยใจ
อย่างนี้ว่า อกุศลธรรมของบุคคลนี้หายไป
กุศลธรรมปรากฏขึ้นเฉพาะหน้า
แต่อกุศลมูลที่เขายังตัดไม่ขาดมีอยู่
อกุศลมูลแม้นั้นก็ถึงความเพิกถอนขึ้นโดยประการทั้งปวง
ด้วยประการอย่างนี้
***บุคคลนี้จักไม่เสื่อมต่อไปเป็นธรรมดา***
เปรียบเหมือนถ่านไฟที่ไฟติดทั่วแล้ว
ลุกโพลงสว่างไสว
อันบุคคลเก็บไว้บนกองหญ้าแห้ง
หรือบนกองไม้แห้ง
เธอพึงทราบไหมว่า ถ่านไฟเหล่านี้จักถึง
ความเจริญงอกงามไพบูลย์
อา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรอานนท์ อนึ่ง เปรียบเหมือนเมื่อพระอาทิตย์กำลังขึ้นมาในเวลารุ่งอรุณ เธอพึงทราบไหมว่า ความมืดจักหายไป แสงสว่างจักปรากฏ ฯ
อา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรอานนท์ อนึ่ง เปรียบเหมือนในเวลาเสวยพระกระยาหารของราชสกูลในเวลาเที่ยงวัน เธอพึงทราบไหมว่า ความมืดหายไปหมดแล้วแสงสว่างได้ปรากฏแล้ว ฯ
อา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรอานนท์ เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า
กุศลธรรมก็ดี อกุศลธรรมก็ดี ของบุคคลนี้มีอยู่
สมัยต่อมา
เรากำหนดรู้ใจบุคคลนั้นด้วยใจอย่างนี้ว่า
อกุศลธรรมของบุคคลนี้หายไป
กุศลธรรมปรากฏขึ้นเฉพาะหน้า
แต่อกุศลมูลที่เขายังตัดไม่ขาดมีอยู่
อกุศลมูลแม้นั้นก็ถึงความเพิกถอนขึ้นโดยประการทั้งปวง
ด้วยประการอย่างนี้
***บุคคลนี้จักเป็นผู้ไม่เสื่อมต่อไปเป็นธรรมดา***
ฉันนั้นเหมือนกัน
ดูกรอานนท์ ตถาคตกำหนดรู้ใจบุคคลด้วยใจแม้อย่างนี้
กำหนดรู้ญาณเป็นเครื่องทราบอินทรีย์ของบุรุษด้วยใจแม้อย่างนี้
กำหนดรู้ธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นต่อไปด้วยใจ แม้ด้วยประการฉะนี้ ฯ
ดูกรอานนท์ อนึ่ง เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า
กุศลธรรมก็ดี
อกุศลธรรมก็ดี
ของบุคคลนี้มีอยู่
สมัยต่อมา
เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลนั้นด้วยใจ อย่างนี้ว่า
อกุศลธรรมของบุคคลนี้
แม้ประมาณเท่าน้ำที่สลัดออกจากปลายขนทรายไม่มี
บุคคลนี้ประกอบด้วยธรรมที่ไม่มีโทษ
เป็นธรรมฝ่ายขาวอย่างเดียว
จักปรินิพพานในปัจจุบันทีเดียว
เปรียบเหมือนถ่านไฟที่เย็น มีไฟดับแล้ว
อันบุคคลเก็บไว้บนกองหญ้าแห้ง หรือบนกองไม้แห้ง
เธอพึงทราบไหมว่า ถ่านไฟเหล่านี้จักไม่ถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ ฯ
อา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรอานนท์ เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า กุศล
ธรรมก็ดี อกุศลธรรมก็ดี ของบุคคลนี้มีอยู่ สมัยต่อมา เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลนั้นด้วยใจอย่างนี้ว่า อกุศลธรรมของบุคคลนี้ แม้ประมาณเท่าน้ำที่สลัดออกจากปลายขนทรายไม่มี บุคคลนี้ประกอบด้วยธรรมที่ไม่มีโทษ เป็นธรรมฝ่ายขาวอย่างเดียว จักปรินิพพานในปัจจุบันทีเดียว ฉันนั้นเหมือนกัน
ดูกรอานนท์ตถาคตกำหนดรู้ใจบุคคลด้วยใจแม้อย่างนี้ กำหนดรู้ญาณเป็น
เครื่องทราบอินทรีย์ของบุรุษด้วยใจแม้อย่างนี้ กำหนดรู้ธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นต่อไปด้วยใจ แม้ด้วยประการฉะนี้
ดูกรอานนท์ บุคคล ๖ จำพวกนั้น บุคคล ๓ จำพวกข้างต้น
***คนหนึ่งเป็นผู้ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
***คนหนึ่งเป็นผู้เสื่อมเป็นธรรมดา
***คนหนึ่งเป็นผู้เกิดในอบาย ตกนรก
ในบุคคล ๖ จำพวกนั้น
บุคคล ๓ จำพวกข้างหลัง
***คนหนึ่งเป็นผู้ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
***คนหนึ่งเป็นผู้เสื่อมเป็นธรรมดา
***คนหนึ่งเป็นผู้จะปรินิพพานเป็นธรรมดา ฯ
จบสูตรที่ ๘
พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
หน้าที่ ๓๖๒/๔๐๗ ข้อที่ ๓๓๓
*********************************
อ่านพุทธวจน เพิ่มเติมได้จากโปรแกรม E-Tipitaka
http://etipitaka.com/read?keywords=อรุณ&language=thai&number=363&volume=22#
*********************************
ฟังพุทธวจนบรรยายได้ที่ www.watnapp.com
วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2562
มโนปวิจารคือ เวทนาทางจิต หมายความว่าอย่างไร Buddhakos media งานถวายผ้ากฐ...
มโนปวิจารคือ เวทนาทางจิต หมายความว่าอย่างไร
Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
CR. Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562 https://www.youtube.com/watch?v=EtIUpMoh5nk&t=10s
🙏🙏🙏 🙏🙏🙏
สฬายตนวิภังคสูตร โดยละเอียด ((วันเสาร์ที่ 23 มกราคม 2559))
#ผัสสะเป็นปัจจัย #จึงเกิดเวทนา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยจักษุ(อายตนะภายใน)
และรูป(อายตนะภายนอก) เกิดจักษุวิญญาณ(วิญญาณ ๖)
-------
ความประจวบกันของธรรมทั้ง ๓ คือผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์(เวทนา)
เป็นสุขบ้าง(สุขเวทนา) เป็นทุกข์บ้าง(ทุกขเวทนา)
มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง(อทุกขมสุขเวทนา)
(ข้อความเดียวกันใน เสียง-หู, กลิ่น-จมูก, รส-ลิ้น, สัมผัส-กาย, ธรรมารมณ์(คิดนึก)-ใจ อันต้องเป็นไปเช่นนั้นเองเป็นธรรมดาตามสภาวธรรม)
(ฉฉักกสูตร, ม.อุ.๑๔/๘๒๓/๔๙๓)
--- คลิปยูทูป
https://youtu.be/WScZpPkJWF4
๗. สฬายตนวิภังคสูตร (๑๓๗)
[๖๑๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง
พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว
พระผู้มี พระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงสฬายตนวิภังค์แก่เธอทั้งหลาย
พวกเธอจงฟังสฬายตนวิภังค์นั้น
จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า ชอบแล้ว
พระพุทธเจ้าข้า ฯ -
[๖๑๘] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า
พวกเธอพึงทราบ
อายตนะภายใน ๖
อายตนะภายนอก ๖
หมวดวิญญาณ ๖
หมวดผัสสะ ๖
ความนึกหน่วงของใจ ๑๘
ทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ ใน ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัย ทาง ดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่
อันเราเรียกว่า สารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก
ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย
นี้เป็นอุเทศแห่งสฬายตนวิภังค์ ฯ -
[๖๑๙] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบ
อายตนะภายใน ๖ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ได้แก่
- อายตนะคือจักษุ
อายตนะคือโสต
อายตนะคือฆานะ
อายตนะคือชิวหา
อายตนะคือกาย
อายตนะคือมโน
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๐] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบ
อายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
อายตนะคือรูป
อายตนะคือเสียง
อายตนะคือกลิ่น
อายตนะคือรส
อายตนะคือโผฏฐัพพะ
อายตนะคือธรรมารมณ์
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่าพึงทราบอายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ --
[๖๒๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
จักษุวิญญาณ
โสตวิญญาณ
ฆานวิญญาณ
ชิวหาวิญญาณ
กายวิญญาณ
มโนวิญญาณ
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่นเราอาศัยวิญญาณดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ --
[๖๒๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
จักษุสัมผัส
โสตสัมผัส
ชิวหาสัมผัส
กายสัมผัส
มโนสัมผัส
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น เราอาศัยสัมผัสดังนี้กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
** เพราะเห็นรูปด้วยจักษุ ใจย่อมนึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา
** เพราะฟังเสียงด้วยโสต ...
** เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ...
** เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ...
** เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ...
** เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน
ใจย่อมนึกหน่วงธรรมารมณ์เป็น **ที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็น **ที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็น **ที่ตั้งแห่งอุเบกขา
ฉะนี้ เป็นความนึกหน่วง
***ฝ่ายโสมนัส ๖
***ฝ่ายโทมนัส ๖
***ฝ่าย อุเบกขา ๖
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยความนึกหน่วงดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๔] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
โสมนัสอาศัยเรือน ๖
โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖
โทมนัสอาศัยเรือน ๖
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖
ฯ - [๖๒๕] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจเป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงรูปที่เคยได้เฉพาะในก่อน
อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัยเรือน
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งเสียงที่รู้ได้ด้วยโสต ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งกลิ่นที่รู้ได้ด้วยฆานะ ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรสที่รู้ได้ด้วยชิวหา ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะที่รู้ได้ด้วยกาย ...
-- บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์ที่รู้ได้ด้วยมโน
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิสโดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่เคยได้เฉพาะในก่อนอันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๖] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนันอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ฯ
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของโผฏฐัพพะทั้งหลายนั่นแล ...
-บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัย เนกขัมมะ
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ -
[๖๒๗] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้
เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงรูปที่ไม่เคยได้ เฉพาะในก่อน
อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้วแปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส
โทมนัสเช่น นี้นี่เราเรียกว่า
โทมนัสอาศัยเรือน
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งเสียง ...
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งกลิ่น ...
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรส ...
-บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะ ...
-บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์
ที่รู้ได้ด้วยมโน อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่ไม่เคยได้เฉพาะในก่อนอันล่วงไปแล้ว
ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส
โทมนัสเช่นนี้นี่ เราเรียกว่า
โทมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โทมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๘] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ
-บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
แล้วย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาใน อนุตตรวิโมกข์
ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย
ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น
โทมนัสเช่นนี้นี่เรา เรียกว่า
โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของเสียงทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของกลิ่นทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรสทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของธรรมารมณ์ ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริง
อย่างนี้ว่า ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดาแล้ว
ย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย
ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น
โทมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ
เหล่านี้โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ -
[๖๒๙] ใน ๓๖ ประการนั้น
อุเบกขาอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ
เพราะเห็นรูปด้วยจักษุ ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา
ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ
เป็นคนหนาแน่น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน
-เพราะฟังเสียงด้วยโสต ...
- เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ...
- เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ...
- เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ...
- เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน
ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา
ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ
เป็นคนหนาแน่นอุเบกขาเช่นนี้นั้น
ไม่ล่วงเลย ธรรมารมณ์ไปได้ เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน
เหล่านี้ อุเบกขาอาศัยเรือน ฯ -
[๖๓๐] ใน ๓๖ ประการนั้น
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น อุเบกขาเช่นนี้นั้น
ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่าอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น
อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยธรรมารมณ์ไปได้เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ
เหล่านี้อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ๖
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น
เราอาศัยทาง ดำเนินดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
นั่นเราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย
คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือ ล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ
อย่างนี้ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้
ดูกรภิกษุทั้งหลายใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คืออิงโทมนัส อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละ โทมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้
- ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละคือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้
ย่อมเป็นอันละอุเบกขานั้นๆได้
เป็นอันล่วงอุเบกขานั้นๆ ได้ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัส
อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ อย่างนี้
ย่อมเป็นอันละโทมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คือ อิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้ ฯ -
[๖๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆก็มี
อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งก็มี
ก็อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ เป็นไฉน
คือ อุเบกขา ที่มีในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ
นี้อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ
อาศัยอารมณ์ต่างๆ
ก็อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง
อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง เป็นไฉน คือ
อุเบกขาที่มี
อาศัยอากาสานัญจายตนะ
อาศัยวิญญาณัญจายตนะ
อาศัยอากิญจัญญายตนะ
อาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนะ
นี้อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอุเบกขา ๒ อย่าง
พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง
อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มี ความเป็นต่างๆ
อาศัยอารมณ์ต่างๆ นั้น
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงอาศัย คืออิงความเป็นผู้ไม่มีตัณหา
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง
อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้
เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
นั่นเราอาศัยการละ การล่วง ดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่ พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดู
แสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ
นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้น
ย่อมไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้
และ ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น
ตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม ไม่เสวยความชื่นชม
และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้
เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๑
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอน หมู่ ฯ -
[๖๓๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก
ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล
อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า
นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ
เหล่าสาวกของศาสดานั้น บางพวกย่อมไม่ฟังด้วยดี
ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้
และประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา
บางพวกย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้ ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้นตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม
ไม่เสวยความชื่นชม ทั้งไม่เป็นผู้ไม่ชื่นชม ไม่เสวยความไม่ชื่นชม
เว้นทั้งความชื่นชมและความไม่ชื่นชมทั้งสองอย่างนั้นแล้ว
เป็นผู้วางเฉย ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้
เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๒
ที่พระอริยะเสพซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า
เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ ฯ -
[๖๓๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก
ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล
อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า
นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ
เหล่าสาวกของศาสดานั้นย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้
ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น
ตถาคตเป็นผู้ชื่นชม เสวยความชื่นชม และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่
- ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๓
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่าเป็นศาสดา
ควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น เราอาศัยเหตุนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๗] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
ศาสดานั้นเราเรียกว่า สารถี ฝึกบุรุษที่ควรฝึก
ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ช้างที่ควรฝึก อันอาจารย์ฝึกช้างไสให้วิ่ง
ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเท่านั้น คือ ทิศตะวันออก
หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ ม้าที่ ควรฝึก
อันอาจารย์ฝึกม้าขับให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน
คือ ทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้
โคที่ควรฝึก อันอาจารย์ ฝึกโคขับให้วิ่ง
ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน คือ ทิศตะวันออก หรือทิศ ตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้
แต่บุรุษที่ควรฝึก
อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่ง
- ย่อมวิ่งไปได้ทั่วทั้ง๘ ทิศ คือ
ผู้ที่มีรูป ย่อมเห็นรูปทั้งหลายได้นี้ทิศที่ ๑
ผู้ที่มีสัญญาในอรูปภายใน ย่อมเห็นรูปทั้งหลายภายนอกได้ นี้ทิศที่ ๒
ย่อมเป็นผู้น้อมใจว่างามทั้งนั้น นี้ทิศที่ ๓
ย่อมเข้าอากาสานัญจายตนะอยู่ด้วยใส่ใจว่า อากาศหาที่สุดมิได้
เพราะล่วงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไม่ใส่ใจ
นานัตตสัญญาโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๔
ย่อมเข้าวิญญาณัญจายตนะอยู่ด้วย ใส่ใจว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๕
ย่อมเข้าอากิญจัญญายตนะ อยู่ด้วยใส่ใจว่า ไม่มีสักน้อยหนึ่ง
เพราะล่วง วิญญาณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๖
ย่อมเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนะ อยู่
เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๗
ย่อมเข้าสัญญา เวทยิตนิโรธอยู่
เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๘
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษที่ควรฝึก
อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่งย่อมวิ่งไปได้ ทั่วทั้ง ๘ ทิศดังนี้
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ศาสดานั้นเราเรียกว่าสารถีฝึก
บุรุษที่ควรฝึก ยอดเยี่ยม กว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย
นั่นเราอาศัยเหตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว
ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี
พระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล ฯ
จบ สฬายตนวิภังคสูตร ที่ ๗
_______________ --
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๔
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
หน้าที่ ๓๐๑ ข้อที่ ๖๑๗ - ๖๓๗ ---
http://etipitaka.com/read/thai/14/301/…
--- 🙏🙏🙏
Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
CR. Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562 https://www.youtube.com/watch?v=EtIUpMoh5nk&t=10s
🙏🙏🙏 🙏🙏🙏
สฬายตนวิภังคสูตร โดยละเอียด ((วันเสาร์ที่ 23 มกราคม 2559))
#ผัสสะเป็นปัจจัย #จึงเกิดเวทนา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยจักษุ(อายตนะภายใน)
และรูป(อายตนะภายนอก) เกิดจักษุวิญญาณ(วิญญาณ ๖)
-------
ความประจวบกันของธรรมทั้ง ๓ คือผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์(เวทนา)
เป็นสุขบ้าง(สุขเวทนา) เป็นทุกข์บ้าง(ทุกขเวทนา)
มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง(อทุกขมสุขเวทนา)
(ข้อความเดียวกันใน เสียง-หู, กลิ่น-จมูก, รส-ลิ้น, สัมผัส-กาย, ธรรมารมณ์(คิดนึก)-ใจ อันต้องเป็นไปเช่นนั้นเองเป็นธรรมดาตามสภาวธรรม)
(ฉฉักกสูตร, ม.อุ.๑๔/๘๒๓/๔๙๓)
--- คลิปยูทูป
https://youtu.be/WScZpPkJWF4
๗. สฬายตนวิภังคสูตร (๑๓๗)
[๖๑๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง
พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว
พระผู้มี พระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงสฬายตนวิภังค์แก่เธอทั้งหลาย
พวกเธอจงฟังสฬายตนวิภังค์นั้น
จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า ชอบแล้ว
พระพุทธเจ้าข้า ฯ -
[๖๑๘] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า
พวกเธอพึงทราบ
อายตนะภายใน ๖
อายตนะภายนอก ๖
หมวดวิญญาณ ๖
หมวดผัสสะ ๖
ความนึกหน่วงของใจ ๑๘
ทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ ใน ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัย ทาง ดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่
อันเราเรียกว่า สารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก
ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย
นี้เป็นอุเทศแห่งสฬายตนวิภังค์ ฯ -
[๖๑๙] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบ
อายตนะภายใน ๖ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ได้แก่
- อายตนะคือจักษุ
อายตนะคือโสต
อายตนะคือฆานะ
อายตนะคือชิวหา
อายตนะคือกาย
อายตนะคือมโน
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๐] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบ
อายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
อายตนะคือรูป
อายตนะคือเสียง
อายตนะคือกลิ่น
อายตนะคือรส
อายตนะคือโผฏฐัพพะ
อายตนะคือธรรมารมณ์
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่าพึงทราบอายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ --
[๖๒๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
จักษุวิญญาณ
โสตวิญญาณ
ฆานวิญญาณ
ชิวหาวิญญาณ
กายวิญญาณ
มโนวิญญาณ
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่นเราอาศัยวิญญาณดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ --
[๖๒๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
จักษุสัมผัส
โสตสัมผัส
ชิวหาสัมผัส
กายสัมผัส
มโนสัมผัส
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น เราอาศัยสัมผัสดังนี้กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
** เพราะเห็นรูปด้วยจักษุ ใจย่อมนึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา
** เพราะฟังเสียงด้วยโสต ...
** เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ...
** เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ...
** เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ...
** เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน
ใจย่อมนึกหน่วงธรรมารมณ์เป็น **ที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็น **ที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็น **ที่ตั้งแห่งอุเบกขา
ฉะนี้ เป็นความนึกหน่วง
***ฝ่ายโสมนัส ๖
***ฝ่ายโทมนัส ๖
***ฝ่าย อุเบกขา ๖
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยความนึกหน่วงดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๔] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
โสมนัสอาศัยเรือน ๖
โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖
โทมนัสอาศัยเรือน ๖
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖
ฯ - [๖๒๕] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจเป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงรูปที่เคยได้เฉพาะในก่อน
อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัยเรือน
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งเสียงที่รู้ได้ด้วยโสต ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งกลิ่นที่รู้ได้ด้วยฆานะ ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรสที่รู้ได้ด้วยชิวหา ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะที่รู้ได้ด้วยกาย ...
-- บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์ที่รู้ได้ด้วยมโน
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิสโดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่เคยได้เฉพาะในก่อนอันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๖] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนันอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ฯ
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของโผฏฐัพพะทั้งหลายนั่นแล ...
-บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า
โสมนัสอาศัย เนกขัมมะ
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ -
[๖๒๗] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้
เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงรูปที่ไม่เคยได้ เฉพาะในก่อน
อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้วแปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส
โทมนัสเช่น นี้นี่เราเรียกว่า
โทมนัสอาศัยเรือน
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งเสียง ...
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งกลิ่น ...
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรส ...
-บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะ ...
-บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์
ที่รู้ได้ด้วยมโน อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่ไม่เคยได้เฉพาะในก่อนอันล่วงไปแล้ว
ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส
โทมนัสเช่นนี้นี่ เราเรียกว่า
โทมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โทมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๘] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ
-บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
แล้วย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาใน อนุตตรวิโมกข์
ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย
ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น
โทมนัสเช่นนี้นี่เรา เรียกว่า
โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของเสียงทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของกลิ่นทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรสทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของธรรมารมณ์ ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริง
อย่างนี้ว่า ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดาแล้ว
ย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย
ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น
โทมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ
เหล่านี้โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ -
[๖๒๙] ใน ๓๖ ประการนั้น
อุเบกขาอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ
เพราะเห็นรูปด้วยจักษุ ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา
ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ
เป็นคนหนาแน่น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน
-เพราะฟังเสียงด้วยโสต ...
- เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ...
- เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ...
- เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ...
- เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน
ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา
ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ
เป็นคนหนาแน่นอุเบกขาเช่นนี้นั้น
ไม่ล่วงเลย ธรรมารมณ์ไปได้ เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน
เหล่านี้ อุเบกขาอาศัยเรือน ฯ -
[๖๓๐] ใน ๓๖ ประการนั้น
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น อุเบกขาเช่นนี้นั้น
ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่าอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ...
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย
และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น
อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยธรรมารมณ์ไปได้เพราะฉะนั้น
เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ
เหล่านี้อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ๖
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น
เราอาศัยทาง ดำเนินดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
นั่นเราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย
คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือ ล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ
อย่างนี้ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้
ดูกรภิกษุทั้งหลายใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คืออิงโทมนัส อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละ โทมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้
- ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละคือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้
ย่อมเป็นอันละอุเบกขานั้นๆได้
เป็นอันล่วงอุเบกขานั้นๆ ได้ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัส
อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ อย่างนี้
ย่อมเป็นอันละโทมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น
พวกเธอจงอาศัย คือ อิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้
เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้ ฯ -
[๖๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆก็มี
อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งก็มี
ก็อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ เป็นไฉน
คือ อุเบกขา ที่มีในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ
นี้อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ
อาศัยอารมณ์ต่างๆ
ก็อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง
อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง เป็นไฉน คือ
อุเบกขาที่มี
อาศัยอากาสานัญจายตนะ
อาศัยวิญญาณัญจายตนะ
อาศัยอากิญจัญญายตนะ
อาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนะ
นี้อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอุเบกขา ๒ อย่าง
พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง
อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มี ความเป็นต่างๆ
อาศัยอารมณ์ต่างๆ นั้น
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงอาศัย คืออิงความเป็นผู้ไม่มีตัณหา
แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง
อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น
อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้
เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
นั่นเราอาศัยการละ การล่วง ดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่ พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดู
แสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ
นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้น
ย่อมไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้
และ ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น
ตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม ไม่เสวยความชื่นชม
และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้
เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๑
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอน หมู่ ฯ -
[๖๓๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก
ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล
อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า
นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ
เหล่าสาวกของศาสดานั้น บางพวกย่อมไม่ฟังด้วยดี
ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้
และประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา
บางพวกย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้ ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้นตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม
ไม่เสวยความชื่นชม ทั้งไม่เป็นผู้ไม่ชื่นชม ไม่เสวยความไม่ชื่นชม
เว้นทั้งความชื่นชมและความไม่ชื่นชมทั้งสองอย่างนั้นแล้ว
เป็นผู้วางเฉย ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้
เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๒
ที่พระอริยะเสพซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า
เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ ฯ -
[๖๓๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก
ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล
อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า
นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ
เหล่าสาวกของศาสดานั้นย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้
ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น
ตถาคตเป็นผู้ชื่นชม เสวยความชื่นชม และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่
- ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๓
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่าเป็นศาสดา
ควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น เราอาศัยเหตุนี้ กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๓๗] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
ศาสดานั้นเราเรียกว่า สารถี ฝึกบุรุษที่ควรฝึก
ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว -
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ช้างที่ควรฝึก อันอาจารย์ฝึกช้างไสให้วิ่ง
ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเท่านั้น คือ ทิศตะวันออก
หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ ม้าที่ ควรฝึก
อันอาจารย์ฝึกม้าขับให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน
คือ ทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้
โคที่ควรฝึก อันอาจารย์ ฝึกโคขับให้วิ่ง
ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน คือ ทิศตะวันออก หรือทิศ ตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้
แต่บุรุษที่ควรฝึก
อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่ง
- ย่อมวิ่งไปได้ทั่วทั้ง๘ ทิศ คือ
ผู้ที่มีรูป ย่อมเห็นรูปทั้งหลายได้นี้ทิศที่ ๑
ผู้ที่มีสัญญาในอรูปภายใน ย่อมเห็นรูปทั้งหลายภายนอกได้ นี้ทิศที่ ๒
ย่อมเป็นผู้น้อมใจว่างามทั้งนั้น นี้ทิศที่ ๓
ย่อมเข้าอากาสานัญจายตนะอยู่ด้วยใส่ใจว่า อากาศหาที่สุดมิได้
เพราะล่วงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไม่ใส่ใจ
นานัตตสัญญาโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๔
ย่อมเข้าวิญญาณัญจายตนะอยู่ด้วย ใส่ใจว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๕
ย่อมเข้าอากิญจัญญายตนะ อยู่ด้วยใส่ใจว่า ไม่มีสักน้อยหนึ่ง
เพราะล่วง วิญญาณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๖
ย่อมเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนะ อยู่
เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๗
ย่อมเข้าสัญญา เวทยิตนิโรธอยู่
เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๘
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษที่ควรฝึก
อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่งย่อมวิ่งไปได้ ทั่วทั้ง ๘ ทิศดังนี้
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ศาสดานั้นเราเรียกว่าสารถีฝึก
บุรุษที่ควรฝึก ยอดเยี่ยม กว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย
นั่นเราอาศัยเหตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว
ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี
พระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล ฯ
จบ สฬายตนวิภังคสูตร ที่ ๗
_______________ --
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๔
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
หน้าที่ ๓๐๑ ข้อที่ ๖๑๗ - ๖๓๗ ---
http://etipitaka.com/read/thai/14/301/…
--- 🙏🙏🙏
วันอังคารที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2562
สุขใจ ทุกข์ใจ หรือ เฉยๆ ผู้ได้สดับจะมีอุบายเครื่องสลัดออกไปพ้นได้แล้ว Bu...
สุขใจ ทุกข์ใจ หรือ เฉยๆ ผู้ได้สดับจะมีอุบายเครื่องสลัดออกไปพ้นได้แล้ว
Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
CR. Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562 https://www.youtube.com/watch?v=EtIUpMoh5nk&t=10s
🙏🙏🙏
ตติยฌาน เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่.
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑ วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑ หน้าที่ ๕ ข้อที่ ๓ http://etipitaka.com/read/thai/1/5/?keywords=%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B2
🙏🙏🙏
สฬายตนวิภังคสูตร โดยละเอียด ((วันเสาร์ที่ 23 มกราคม 2559))
#ผัสสะเป็นปัจจัย #จึงเกิดเวทนา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
บุคคลอาศัยจักษุ(อายตนะภายใน) และรูป(อายตนะภายนอก)
เกิดจักษุวิญญาณ(วิญญาณ ๖)
-------
ความประจวบกันของธรรมทั้ง ๓ คือผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์(เวทนา) เป็นสุขบ้าง(สุขเวทนา) เป็นทุกข์บ้าง(ทุกขเวทนา) มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง(อทุกขมสุขเวทนา)
(ข้อความเดียวกันใน เสียง-หู, กลิ่น-จมูก, รส-ลิ้น, สัมผัส-กาย, ธรรมารมณ์(คิดนึก)-ใจ อันต้องเป็นไปเช่นนั้นเองเป็นธรรมดาตามสภาวธรรม)
(ฉฉักกสูตร, ม.อุ.๑๔/๘๒๓/๔๙๓)
---
คลิปยูทูป
https://youtu.be/WScZpPkJWF4
๗. สฬายตนวิภังคสูตร (๑๓๗)
[๖๑๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง
พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว พระผู้มี
พระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงสฬายตนวิภังค์แก่เธอทั้งหลาย
พวกเธอจงฟังสฬายตนวิภังค์นั้น
จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า
ชอบแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ฯ -
[๖๑๘] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า
พวกเธอพึงทราบ
อายตนะภายใน ๖
อายตนะภายนอก ๖
หมวดวิญญาณ ๖
หมวดผัสสะ ๖
ความนึกหน่วงของใจ ๑๘
ทางดำเนินของสัตว์ ๓๖
ใน ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัย ทาง ดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่พระอริยะเสพ
ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่
อันเราเรียกว่า สารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก
ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย
นี้เป็นอุเทศแห่งสฬายตนวิภังค์ ฯ
-
[๖๑๙] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว
ได้แก่
-
อายตนะคือจักษุ
อายตนะคือโสต
อายตนะคือฆานะ
อายตนะคือชิวหา
อายตนะคือกาย
อายตนะคือมโน
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ
-
[๖๒๐] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบ
อายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ได้แก่
- อายตนะคือรูป
อายตนะคือเสียง
อายตนะคือกลิ่น
อายตนะคือรส
อายตนะคือโผฏฐัพพะ
อายตนะคือธรรมารมณ์
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่าพึงทราบอายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ
--
[๖๒๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
จักษุวิญญาณ
โสตวิญญาณ
ฆานวิญญาณ
ชิวหาวิญญาณ
กายวิญญาณ
มโนวิญญาณ
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่นเราอาศัยวิญญาณดังนี้
กล่าวแล้ว ฯ
--
[๖๒๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่
-
จักษุสัมผัส
โสตสัมผัส
ชิวหาสัมผัส
กายสัมผัส
มโนสัมผัส
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น
เราอาศัยสัมผัสดังนี้กล่าวแล้ว ฯ
-
[๖๒๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
เพราะ
เห็นรูปด้วยจักษุ
ใจย่อมนึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา
เพราะฟังเสียงด้วยโสต ...
เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ...
เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ...
เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ...
เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน
ใจย่อมนึกหน่วงธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา
ฉะนี้
เป็นความนึกหน่วง
ฝ่ายโสมนัส ๖
ฝ่ายโทมนัส ๖
ฝ่าย อุเบกขา ๖
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยความนึกหน่วงดังนี้
กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๔] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
โสมนัสอาศัยเรือน ๖
โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖
โทมนัสอาศัยเรือน ๖
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖
ฯ -
[๖๒๕] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจเป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงรูปที่เคยได้เฉพาะในก่อน อันล่วงไปแล้ว
ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัยเรือน
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งเสียงที่รู้ได้ด้วยโสต ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งกลิ่นที่รู้ได้ด้วยฆานะ ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรสที่รู้ได้ด้วยชิวหา ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะที่รู้ได้ด้วยกาย ...
--
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์ที่รู้ได้ด้วยมโน
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ ประกอบด้วยโลกามิสโดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่เคยได้เฉพาะในก่อนอันล่วงไปแล้ว
ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๖] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนันอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ฯ
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ... บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ... บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ...
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของโผฏฐัพพะทั้งหลายนั่นแล ...
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัย เนกขัมมะ
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ
- [๖๒๗] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้
เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงรูปที่ไม่เคยได้
เฉพาะในก่อน อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้วแปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส โทมนัสเช่น
นี้นี่เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเรือน
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งเสียง ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งกลิ่น ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรส ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะ ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์ที่รู้ได้ด้วยมโน
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่ไม่เคยได้เฉพาะในก่อน
อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส
โทมนัสเช่นนี้นี่ เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โทมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๘] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน คือ
บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
แล้วย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาใน อนุตตรวิโมกข์
ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย
ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า
ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น
โทมนัสเช่นนี้นี่เรา เรียกว่า โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ -
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของเสียงทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของกลิ่นทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรสทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของธรรมารมณ์ ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดาแล้ว ย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์ เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์ ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น โทมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ เหล่านี้โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ - [๖๒๙] ใน ๓๖ ประการนั้น อุเบกขาอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน คือ เพราะเห็นรูปด้วยจักษุ ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ เป็นคนหนาแน่น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน เพราะฟังเสียงด้วยโสต ... เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ... เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ... เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ... เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ เป็นคนหนาแน่นอุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลย ธรรมารมณ์ไปได้ เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน เหล่านี้ อุเบกขาอาศัยเรือน ฯ - [๖๓๐] ใน ๓๖ ประการนั้น อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน คือ บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่าอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ... -- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยธรรมารมณ์ไปได้เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ เหล่านี้อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ๖ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น เราอาศัยทาง ดำเนินดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้ ละทางดำเนินของสัตว์นี้ นั่นเราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละ คือ ล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้ ดูกรภิกษุทั้งหลายใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงโทมนัส อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆแล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละ โทมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละคือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานั้นๆได้ เป็นอันล่วงอุเบกขานั้นๆ ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัส อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละโทมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คือ อิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้ ฯ - [๖๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆก็มีอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งก็มี ก็อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ เป็นไฉน คือ อุเบกขา ที่มีในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ นี้อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ ก็อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง เป็นไฉน คือ อุเบกขาที่มี อาศัยอากาสานัญจายตนะ อาศัยวิญญาณัญจายตนะ อาศัยอากิญจัญญายตนะ อาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนะ นี้อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอุเบกขา ๒ อย่าง พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มี ความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ นั้น อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงอาศัย คืออิงความเป็นผู้ไม่มีตัณหา แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้ เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้ ละทางดำเนินของสัตว์นี้ นั่นเราอาศัยการละ การล่วง ดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ ที่ พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดู แสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้น ย่อมไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้ และ ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น ตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม ไม่เสวยความชื่นชม และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้ เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๑ ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอน หมู่ ฯ - [๖๓๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้น บางพวกย่อมไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้ และประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา บางพวกย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้ ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้นตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม ไม่เสวยความชื่นชม ทั้งไม่เป็นผู้ไม่ชื่นชม ไม่เสวยความไม่ชื่นชม เว้นทั้งความชื่นชมและความไม่ชื่นชมทั้งสองอย่างนั้นแล้ว เป็นผู้วางเฉย ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้ เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๒ ที่พระอริยะเสพซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ ฯ - [๖๓๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้นย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้ ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น ตถาคตเป็นผู้ชื่นชม เสวยความชื่นชม และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๓ ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่าเป็นศาสดา ควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น เราอาศัยเหตุนี้ กล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๗] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ศาสดานั้นเราเรียกว่า สารถี ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ช้างที่ควรฝึก อันอาจารย์ฝึกช้างไสให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเท่านั้น คือ ทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ ม้าที่ ควรฝึก อันอาจารย์ฝึกม้าขับให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน คือ ทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ โคที่ควรฝึก อันอาจารย์ ฝึกโคขับให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน คือ ทิศตะวันออก หรือทิศ ตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ แต่บุรุษที่ควรฝึก อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่ง - ย่อมวิ่งไปได้ทั่วทั้ง๘ ทิศ คือ ผู้ที่มีรูป ย่อมเห็นรูปทั้งหลายได้นี้ทิศที่ ๑ ผู้ที่มีสัญญาในอรูปภายใน ย่อมเห็นรูปทั้งหลายภายนอกได้ นี้ทิศที่ ๒ ย่อมเป็นผู้น้อมใจว่างามทั้งนั้น นี้ทิศที่ ๓ ย่อมเข้าอากาสานัญจายตนะอยู่ด้วยใส่ใจว่า อากาศหาที่สุดมิได้ เพราะล่วงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไม่ใส่ใจ นานัตตสัญญาโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๔ ย่อมเข้าวิญญาณัญจายตนะอยู่ด้วย ใส่ใจว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้ เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๕ ย่อมเข้าอากิญจัญญายตนะ อยู่ด้วยใส่ใจว่า ไม่มีสักน้อยหนึ่ง เพราะล่วง วิญญาณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๖ ย่อมเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนะ อยู่ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๗ ย่อมเข้าสัญญา เวทยิตนิโรธอยู่ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๘ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษที่ควรฝึก อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่งย่อมวิ่งไปได้ ทั่วทั้ง ๘ ทิศดังนี้ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ศาสดานั้นเราเรียกว่าสารถีฝึก บุรุษที่ควรฝึก ยอดเยี่ยม กว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย นั่นเราอาศัยเหตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล ฯ จบ สฬายตนวิภังคสูตร ที่ ๗ _______________ -- พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๔ สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ หน้าที่ ๓๐๑ ข้อที่ ๖๑๗ - ๖๓๗ --- http://etipitaka.com/read/thai/14/301/… --- 🙏🙏🙏
Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
CR. Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562 https://www.youtube.com/watch?v=EtIUpMoh5nk&t=10s
🙏🙏🙏
ตติยฌาน เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่.
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑ วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑ หน้าที่ ๕ ข้อที่ ๓ http://etipitaka.com/read/thai/1/5/?keywords=%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B2
🙏🙏🙏
สฬายตนวิภังคสูตร โดยละเอียด ((วันเสาร์ที่ 23 มกราคม 2559))
#ผัสสะเป็นปัจจัย #จึงเกิดเวทนา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
บุคคลอาศัยจักษุ(อายตนะภายใน) และรูป(อายตนะภายนอก)
เกิดจักษุวิญญาณ(วิญญาณ ๖)
-------
ความประจวบกันของธรรมทั้ง ๓ คือผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์(เวทนา) เป็นสุขบ้าง(สุขเวทนา) เป็นทุกข์บ้าง(ทุกขเวทนา) มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง(อทุกขมสุขเวทนา)
(ข้อความเดียวกันใน เสียง-หู, กลิ่น-จมูก, รส-ลิ้น, สัมผัส-กาย, ธรรมารมณ์(คิดนึก)-ใจ อันต้องเป็นไปเช่นนั้นเองเป็นธรรมดาตามสภาวธรรม)
(ฉฉักกสูตร, ม.อุ.๑๔/๘๒๓/๔๙๓)
---
คลิปยูทูป
https://youtu.be/WScZpPkJWF4
๗. สฬายตนวิภังคสูตร (๑๓๗)
[๖๑๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง
พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว พระผู้มี
พระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงสฬายตนวิภังค์แก่เธอทั้งหลาย
พวกเธอจงฟังสฬายตนวิภังค์นั้น
จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า
ชอบแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ฯ -
[๖๑๘] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า
พวกเธอพึงทราบ
อายตนะภายใน ๖
อายตนะภายนอก ๖
หมวดวิญญาณ ๖
หมวดผัสสะ ๖
ความนึกหน่วงของใจ ๑๘
ทางดำเนินของสัตว์ ๓๖
ใน ๓๖ นั้น
พวกเธอจงอาศัย ทาง ดำเนินของสัตว์นี้
ละทางดำเนินของสัตว์นี้
และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ
ที่พระอริยะเสพ
ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่
อันเราเรียกว่า สารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก
ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย
นี้เป็นอุเทศแห่งสฬายตนวิภังค์ ฯ
-
[๖๑๙] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว
ได้แก่
-
อายตนะคือจักษุ
อายตนะคือโสต
อายตนะคือฆานะ
อายตนะคือชิวหา
อายตนะคือกาย
อายตนะคือมโน
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ
-
[๖๒๐] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบ
อายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ได้แก่
- อายตนะคือรูป
อายตนะคือเสียง
อายตนะคือกลิ่น
อายตนะคือรส
อายตนะคือโผฏฐัพพะ
อายตนะคือธรรมารมณ์
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่าพึงทราบอายตนะภายนอก ๖ นั่น
เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ
--
[๖๒๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ -
จักษุวิญญาณ
โสตวิญญาณ
ฆานวิญญาณ
ชิวหาวิญญาณ
กายวิญญาณ
มโนวิญญาณ
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่นเราอาศัยวิญญาณดังนี้
กล่าวแล้ว ฯ
--
[๖๒๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น
เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่
-
จักษุสัมผัส
โสตสัมผัส
ชิวหาสัมผัส
กายสัมผัส
มโนสัมผัส
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น
เราอาศัยสัมผัสดังนี้กล่าวแล้ว ฯ
-
[๖๒๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
เพราะ
เห็นรูปด้วยจักษุ
ใจย่อมนึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงรูปเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา
เพราะฟังเสียงด้วยโสต ...
เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ...
เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ...
เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ...
เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน
ใจย่อมนึกหน่วงธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส
นึกหน่วงธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา
ฉะนี้
เป็นความนึกหน่วง
ฝ่ายโสมนัส ๖
ฝ่ายโทมนัส ๖
ฝ่าย อุเบกขา ๖
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบความนึกหน่วงของใจ ๑๘ นั่น
เราอาศัยความนึกหน่วงดังนี้
กล่าวแล้ว ฯ -
[๖๒๔] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า
พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น
เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ
โสมนัสอาศัยเรือน ๖
โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖
โทมนัสอาศัยเรือน ๖
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖
ฯ -
[๖๒๕] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจเป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงรูปที่เคยได้เฉพาะในก่อน อันล่วงไปแล้ว
ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัยเรือน
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งเสียงที่รู้ได้ด้วยโสต ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งกลิ่นที่รู้ได้ด้วยฆานะ ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งรสที่รู้ได้ด้วยชิวหา ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะที่รู้ได้ด้วยกาย ...
--
บุคคลเมื่อเล็งเห็นการได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์ที่รู้ได้ด้วยมโน
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ ประกอบด้วยโลกามิสโดยเป็นของอันตนได้เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่เคยได้เฉพาะในก่อนอันล่วงไปแล้ว
ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๖] ใน ๓๖ ประการนั้น
โสมนันอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน
คือ บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ฯ
- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ... บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ... บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ...
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของโผฏฐัพพะทั้งหลายนั่นแล ...
บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ย่อมเกิดโสมนัสขึ้น
โสมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โสมนัสอาศัย เนกขัมมะ
เหล่านี้โสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ
- [๖๒๗] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน
คือ บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรูปที่รู้ได้ด้วยจักษุ
อันน่าปรารถนา น่าใคร่น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้
เฉพาะ หรือหวนระลึกถึงรูปที่ไม่เคยได้
เฉพาะในก่อน อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้วแปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส โทมนัสเช่น
นี้นี่เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเรือน
- บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งเสียง ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งกลิ่น ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งรส ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งโผฏฐัพพะ ...
บุคคลเมื่อเล็งเห็นความไม่ได้เฉพาะซึ่งธรรมารมณ์ที่รู้ได้ด้วยมโน
อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ
ประกอบด้วยโลกามิส โดยเป็นของอันตนไม่ได้เฉพาะ
หรือหวนระลึกถึงธรรมารมณ์ที่ไม่เคยได้เฉพาะในก่อน
อันล่วงไปแล้ว ดับไปแล้ว แปรปรวนไปแล้ว ย่อมเกิดโทมนัส
โทมนัสเช่นนี้นี่ เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเรือน
เหล่านี้โทมนัสอาศัยเรือน ๖ ฯ -
[๖๒๘] ใน ๓๖ ประการนั้น
โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน คือ
บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล
แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
แล้วย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์
เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาใน อนุตตรวิโมกข์
ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย
ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า
ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น
โทมนัสเช่นนี้นี่เรา เรียกว่า โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ -
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของเสียงทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของกลิ่นทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรสทั้งหลาย นั่นแล ...
- บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของธรรมารมณ์ ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดาแล้ว ย่อมเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์ เมื่อเข้าไปตั้งความปรารถนาในอนุตตรวิโมกข์ ดังนี้ว่า เมื่อไร ตัวเราจึงจักบรรลุอายตนะที่พระอริยะทั้งหลาย ได้บรรลุอยู่ในบัดนี้เล่า ย่อมเกิดโทมนัสเพราะความปรารถนาเป็นปัจจัยขึ้น โทมนัสเช่นนี้นี่เราเรียกว่า โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ เหล่านี้โทมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ ฯ - [๖๒๙] ใน ๓๖ ประการนั้น อุเบกขาอาศัยเรือน ๖ เป็นไฉน คือ เพราะเห็นรูปด้วยจักษุ ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ เป็นคนหนาแน่น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน เพราะฟังเสียงด้วยโสต ... เพราะดมกลิ่นด้วยฆานะ ... เพราะลิ้มรสด้วยชิวหา ... เพราะถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ... เพราะรู้ธรรมารมณ์ด้วยมโน ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้นแก่ปุถุชนคนโง่เขลา ยังไม่ชนะกิเลส ยังไม่ชนะวิบาก ไม่เห็นโทษ ไม่ได้สดับ เป็นคนหนาแน่นอุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลย ธรรมารมณ์ไปได้ เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเรือน เหล่านี้ อุเบกขาอาศัยเรือน ฯ - [๖๓๐] ใน ๓๖ ประการนั้น อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ เป็นไฉน คือ บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรูปทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า รูปในก่อนและในบัดนี้ ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยรูปไปได้ เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่าอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของเสียงทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของกลิ่นทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของรสทั้งหลายนั่นแล ... -- บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของโผฏฐัพพะ ทั้งหลายนั่นแล ... - บุคคลเมื่อทราบความไม่เที่ยง ความแปรปรวน ความคลาย และความดับของธรรมารมณ์ทั้งหลายนั่นแล แล้วเห็นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า ธรรมารมณ์ในก่อนและในบัดนี้ทั้งหมดนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ย่อมเกิดอุเบกขาขึ้น อุเบกขาเช่นนี้นั้น ไม่ล่วงเลยธรรมารมณ์ไปได้เพราะฉะนั้น เราจึงเรียกว่า อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ เหล่านี้อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ๖ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั่น เราอาศัยทาง ดำเนินดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้ ละทางดำเนินของสัตว์นี้ นั่นเราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละ คือ ล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้ ดูกรภิกษุทั้งหลายใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงโทมนัส อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆแล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัสอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละ โทมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละคือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาอาศัยเรือน ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานั้นๆได้ เป็นอันล่วงอุเบกขานั้นๆ ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คืออิงโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโทมนัส อาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละโทมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโทมนัสนั้นๆ ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัย คือ อิงอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งโสมนัสอาศัยเนกขัมมะ ๖ นั้นๆ อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละโสมนัสนั้นๆ ได้ เป็นอันล่วงโสมนัสนั้นๆ ได้ ฯ - [๖๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆก็มีอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งก็มี ก็อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ เป็นไฉน คือ อุเบกขา ที่มีในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ นี้อุเบกขาที่มีความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ ก็อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง เป็นไฉน คือ อุเบกขาที่มี อาศัยอากาสานัญจายตนะ อาศัยวิญญาณัญจายตนะ อาศัยอากิญจัญญายตนะ อาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนะ นี้อุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่ง - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอุเบกขา ๒ อย่าง พวกเธอจงอาศัย คืออิงอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มี ความเป็นต่างๆ อาศัยอารมณ์ต่างๆ นั้น อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงอาศัย คืออิงความเป็นผู้ไม่มีตัณหา แล้วละ คือล่วงเสียซึ่งอุเบกขาที่มีความเป็นหนึ่ง อาศัยอารมณ์เป็นหนึ่งนั้น อย่างนี้ ย่อมเป็นอันละอุเบกขานี้ได้ เป็นอันล่วงอุเบกขานี้ได้ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ นั้น พวกเธอจงอาศัยทางดำเนินของสัตว์นี้ ละทางดำเนินของสัตว์นี้ นั่นเราอาศัยการละ การล่วง ดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ ที่ พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดู แสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้น ย่อมไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้ และ ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น ตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม ไม่เสวยความชื่นชม และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้ เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๑ ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอน หมู่ ฯ - [๖๓๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้น บางพวกย่อมไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้ และประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา บางพวกย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้ ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้นตถาคตไม่เป็นผู้ชื่นชม ไม่เสวยความชื่นชม ทั้งไม่เป็นผู้ไม่ชื่นชม ไม่เสวยความไม่ชื่นชม เว้นทั้งความชื่นชมและความไม่ชื่นชมทั้งสองอย่างนั้นแล้ว เป็นผู้วางเฉย ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้ เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๒ ที่พระอริยะเสพซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ ฯ - [๖๓๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ศาสดาเป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้นย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้ ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้น ตถาคตเป็นผู้ชื่นชม เสวยความชื่นชม และไม่ระคายเคือง ย่อมมีสติสัมปชัญญะอยู่ - ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่าการตั้งสติประการที่ ๓ ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่า เป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า และพึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่าเป็นศาสดา ควรเพื่อสั่งสอนหมู่ นั่น เราอาศัยเหตุนี้ กล่าวแล้ว ฯ - [๖๓๗] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ศาสดานั้นเราเรียกว่า สารถี ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ยอดเยี่ยมกว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว - ดูกรภิกษุทั้งหลาย ช้างที่ควรฝึก อันอาจารย์ฝึกช้างไสให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเท่านั้น คือ ทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ ม้าที่ ควรฝึก อันอาจารย์ฝึกม้าขับให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน คือ ทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ โคที่ควรฝึก อันอาจารย์ ฝึกโคขับให้วิ่ง ย่อมวิ่งไปได้ทิศเดียวเหมือนกัน คือ ทิศตะวันออก หรือทิศ ตะวันตก หรือทิศเหนือ หรือทิศใต้ แต่บุรุษที่ควรฝึก อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่ง - ย่อมวิ่งไปได้ทั่วทั้ง๘ ทิศ คือ ผู้ที่มีรูป ย่อมเห็นรูปทั้งหลายได้นี้ทิศที่ ๑ ผู้ที่มีสัญญาในอรูปภายใน ย่อมเห็นรูปทั้งหลายภายนอกได้ นี้ทิศที่ ๒ ย่อมเป็นผู้น้อมใจว่างามทั้งนั้น นี้ทิศที่ ๓ ย่อมเข้าอากาสานัญจายตนะอยู่ด้วยใส่ใจว่า อากาศหาที่สุดมิได้ เพราะล่วงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไม่ใส่ใจ นานัตตสัญญาโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๔ ย่อมเข้าวิญญาณัญจายตนะอยู่ด้วย ใส่ใจว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้ เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๕ ย่อมเข้าอากิญจัญญายตนะ อยู่ด้วยใส่ใจว่า ไม่มีสักน้อยหนึ่ง เพราะล่วง วิญญาณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๖ ย่อมเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนะ อยู่ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๗ ย่อมเข้าสัญญา เวทยิตนิโรธอยู่ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง นี้ทิศที่ ๘ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษที่ควรฝึก อันตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธสอนให้วิ่งย่อมวิ่งไปได้ ทั่วทั้ง ๘ ทิศดังนี้ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ศาสดานั้นเราเรียกว่าสารถีฝึก บุรุษที่ควรฝึก ยอดเยี่ยม กว่าอาจารย์ผู้ฝึกทั้งหลาย นั่นเราอาศัยเหตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล ฯ จบ สฬายตนวิภังคสูตร ที่ ๗ _______________ -- พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๔ สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ หน้าที่ ๓๐๑ ข้อที่ ๖๑๗ - ๖๓๗ --- http://etipitaka.com/read/thai/14/301/… --- 🙏🙏🙏
สมาธิพอประมาณของสกทาคามี คืออย่างไร Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวั...
#สมาธิพอประมาณของสกทาคามี
สมาธิพอประมาณของสกทาคามี คืออย่างไร
Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
CR. Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
https://www.youtube.com/watch?v=EtIUpMoh5nk&t=10s
มิคสาลาสูตร [๗๕] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล เวลาเช้าท่านพระอานนท์นุ่งแล้ว ถือบาตร และจีวรเข้าไปยังที่อยู่ของมิคสาลาอุบาสิกา แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดถวาย ครั้งนั้น มิคสาลาอุบาสิกา เข้าไปหาท่านพระอานนท์กราบไหว้ แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ถามท่านพระอานนท์ว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ -- คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนจะพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร คือบิดาของดิฉันชื่อปุราณะ เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล งดเว้นจากเมถุนอันเป็นธรรมของชาวบ้าน ท่านกระทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต บุรุษชื่ออิสิทัตตะ ผู้เป็นที่รักของบิดาของดิฉัน ไม่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ (แต่) ยินดีด้วยภรรยาของตน แม้เขาทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต -- ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีสติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนจะพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร ฯ -- ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ดูกรน้องหญิง ก็ข้อนี้พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ไว้อย่างนั้น แล ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์รับบิณฑบาตที่นิเวศน์ของมิคสาลาอุบาสิกา ลุกจากอาสนะกลับไปแล้ว ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์กลับจากบิณฑบาต ภายหลังภัต เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่งณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานพระวโรกาส เวลาเช้า ข้าพระองค์นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปยังนิเวศน์ ของอุบาสิกาชื่อมิคสาลา แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดถวาย ลำดับนั้น มิคสาลาอุบาสิกาเข้าไปหาข้าพระองค์ กราบไหว้แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ถามข้าพระองค์ว่า ข้าแต่ท่านอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร คือ บิดาของดิฉันชื่อปุราณะ เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล งดเว้นจากเมถุนอันเป็นธรรมของชาวบ้าน ท่านกระทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต บุรุษชื่ออิสิทัตตะ ผู้เป็นที่รักของบิดาของดิฉัน ไม่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ แต่ยินดีด้วยภรรยาของตน แม้เขาทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคลเข้าถึงชั้นดุสิต ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร -- เมื่อมิคสาลาอุบาสิกากล่าวอย่างนี้แล้ว ข้าพระองค์ได้กล่าวกะมิคสาลาอุบาสิกาว่า ดูกรน้องหญิง ก็ข้อนี้พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ไว้อย่างนี้แล ฯ - พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ ก็มิคสาลาอุบาสิกา เป็นพาลไม่ฉลาด เป็นคนบอด มีปัญญาทึบ เป็นอะไร และพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอะไร ในญาณเครื่องกำหนดรู้ ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของบุคคล - ดูกรอานนท์ บุคคล ๑๐ จำพวกนี้มีอยู่ในโลก ๑๐ จำพวกเป็นไฉน ดูกรอานนท์บุคคลบางคนในโลกนี้ - #เป็นผู้ทุศีล และ **ไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้น **ไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง **ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต **ไม่แทงตลอดแม้ด้วยทิฐิ **ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อมไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม ไม่ถึงความเจริญ - ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ #เป็นผู้ทุศีล แต่ **รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง **บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง **กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ **ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม - ดูกรอานนท์ พวกคนผู้ถือประมาณย่อมประมาณในเรื่องนั้นว่า ธรรมแม้ของคนนี้ก็เหล่านั้นแหละ ธรรมแม้ของคนอื่นก็เหล่านั้นแหละ เพราะเหตุไรในสองคนนั้น คนหนึ่งเลว คนหนึ่งดี ก็การประมาณของคนผู้ถือประมาณเหล่านั้น ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูลเพื่อทุกข์ ตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์ ในสองคนนั้น บุคคลใดเป็นผู้ทุศีล และรู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย ดูกรอานนท์บุคคลนี้ดีกว่าและประณีตกว่าบุคคลที่กล่าวข้างต้น - ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้องบุคคลนี้ ใครเล่าจะพึงรู้เหตุนั้นได้ นอกจากตถาคต - ดูกรอานนท์ เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายอย่าได้เป็นผู้ชอบประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณในบุคคล เพราะผู้ถือประมาณในบุคคล ย่อมทำลายคุณวิเศษของตน เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ - ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศีล แต่ไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นไม่ทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อมอย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญ - ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศีล และรู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม - ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณใน บุคคลได้ ฯ - ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ #เป็นผู้มีราคะกล้า ทั้งไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งราคะของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อมอย่างเดียวไม่ถึงความเจริญ - ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีราคะกล้า แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งราคะของเขาตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัยเมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความ เจริญอย่างเดียวไม่ถึงความเสื่อม ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณใน บุคคลได้ ฯ ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ ทั้งไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญา วิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความโกรธของเขาตามความเป็นจริง บุคคลนั้นไม่กระทำกิจ แม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้ วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม อย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญ ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความโกรธของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟังกระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึง ความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณ ในบุคคลได้ ฯ ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ทั้งไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตามความเป็นจริงบุคคลนั้นไม่กระทำกิจ แม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้ วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม อย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฟุ้งซ่าน แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูตแทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความ เจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อมดูกรอานนท์ พวกคนผู้ถือประมาณ ย่อมประมาณในเรื่องนั้นว่า ธรรมแม้ของคนนี้ก็เหล่านั้นแหละ ธรรมแม้ของคนอื่นก็เหล่านั้นแหละ เพราะเหตุไรในสองคน นั้น คนหนึ่งเลว คนหนึ่งดี ก็การประมาณของคนผู้ถือประมาณเหล่านั้นย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อทุกข์ ตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์ในสองคนนั้น บุคคลใดเป็นผู้ฟุ้งซ่าน แต่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตาม ความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอด ด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย บุคคลนี้ดีกว่า และประณีตกว่าบุคคลที่กล่าว ข้างต้นโน้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้องบุคคลนี้ ใครเล่าจะพึง รู้เหตุนั้นได้นอกจากตถาคต ดูกรอานนท์ เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายอย่าประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณในบุคคลเพราะผู้ถือประมาณในบุคคล ย่อมทำลายคุณวิเศษของตน เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ ดูกรอานนท์ ก็มิคสาลาอุบาสิกาเป็นพาล ไม่ฉลาด เป็นคนบอดมีปัญญาทึบ เป็นอะไร และพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอะไร ในญาณเครื่องกำหนดรู้ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของ บุคคล ดูกรอานนท์ บุคคล ๑๐ จำพวกนี้แลมีปรากฏอยู่ในโลก ดูกรอานนท์ บุรุษชื่อปุราณะ เป็นผู้ประกอบด้วยศีลเช่นใดบุรุษชื่ออิสิทัตตะก็เป็นผู้ประกอบด้วยศีลเช่นนั้น บุรุษชื่อปุราณะ จะได้รู้แม้คติของบุรุษชื่ออิสิทัตตะก็หามิได้ บุรุษชื่ออิสิทัตตะเป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาเช่นใด บุรุษชื่อปุราณะก็เป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาเช่นนั้นบุรุษชื่ออิสิทัตตะจะได้รู้แม้คติ ของบุรุษชื่อ ปุราณะก็หามิได้ ดูกรอานนท์ คนทั้งสองนี้เลวกว่ากันด้วยองค์คุณคนละอย่าง ด้วยประการฉะนี้ ฯ จบสูตรที่ ๕ link โปรแกรม E-tipitaka http://etipitaka.com/compare/thai/thaimc/24/123/?keywords= พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๔ สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต หน้าที่ ๑๒๒ ข้อที่ ๗๕
Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
CR. Buddhakos media งานถวายผ้ากฐินบ่ายวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ ศ 2562
https://www.youtube.com/watch?v=EtIUpMoh5nk&t=10s
มิคสาลาสูตร [๗๕] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล เวลาเช้าท่านพระอานนท์นุ่งแล้ว ถือบาตร และจีวรเข้าไปยังที่อยู่ของมิคสาลาอุบาสิกา แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดถวาย ครั้งนั้น มิคสาลาอุบาสิกา เข้าไปหาท่านพระอานนท์กราบไหว้ แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ถามท่านพระอานนท์ว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ -- คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนจะพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร คือบิดาของดิฉันชื่อปุราณะ เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล งดเว้นจากเมถุนอันเป็นธรรมของชาวบ้าน ท่านกระทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต บุรุษชื่ออิสิทัตตะ ผู้เป็นที่รักของบิดาของดิฉัน ไม่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ (แต่) ยินดีด้วยภรรยาของตน แม้เขาทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต -- ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีสติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนจะพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร ฯ -- ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ดูกรน้องหญิง ก็ข้อนี้พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ไว้อย่างนั้น แล ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์รับบิณฑบาตที่นิเวศน์ของมิคสาลาอุบาสิกา ลุกจากอาสนะกลับไปแล้ว ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์กลับจากบิณฑบาต ภายหลังภัต เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่งณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานพระวโรกาส เวลาเช้า ข้าพระองค์นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปยังนิเวศน์ ของอุบาสิกาชื่อมิคสาลา แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดถวาย ลำดับนั้น มิคสาลาอุบาสิกาเข้าไปหาข้าพระองค์ กราบไหว้แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ถามข้าพระองค์ว่า ข้าแต่ท่านอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร คือ บิดาของดิฉันชื่อปุราณะ เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล งดเว้นจากเมถุนอันเป็นธรรมของชาวบ้าน ท่านกระทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต บุรุษชื่ออิสิทัตตะ ผู้เป็นที่รักของบิดาของดิฉัน ไม่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ แต่ยินดีด้วยภรรยาของตน แม้เขาทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคลเข้าถึงชั้นดุสิต ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร -- เมื่อมิคสาลาอุบาสิกากล่าวอย่างนี้แล้ว ข้าพระองค์ได้กล่าวกะมิคสาลาอุบาสิกาว่า ดูกรน้องหญิง ก็ข้อนี้พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ไว้อย่างนี้แล ฯ - พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ ก็มิคสาลาอุบาสิกา เป็นพาลไม่ฉลาด เป็นคนบอด มีปัญญาทึบ เป็นอะไร และพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอะไร ในญาณเครื่องกำหนดรู้ ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของบุคคล - ดูกรอานนท์ บุคคล ๑๐ จำพวกนี้มีอยู่ในโลก ๑๐ จำพวกเป็นไฉน ดูกรอานนท์บุคคลบางคนในโลกนี้ - #เป็นผู้ทุศีล และ **ไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้น **ไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง **ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต **ไม่แทงตลอดแม้ด้วยทิฐิ **ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อมไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม ไม่ถึงความเจริญ - ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ #เป็นผู้ทุศีล แต่ **รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง **บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง **กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ **ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม - ดูกรอานนท์ พวกคนผู้ถือประมาณย่อมประมาณในเรื่องนั้นว่า ธรรมแม้ของคนนี้ก็เหล่านั้นแหละ ธรรมแม้ของคนอื่นก็เหล่านั้นแหละ เพราะเหตุไรในสองคนนั้น คนหนึ่งเลว คนหนึ่งดี ก็การประมาณของคนผู้ถือประมาณเหล่านั้น ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูลเพื่อทุกข์ ตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์ ในสองคนนั้น บุคคลใดเป็นผู้ทุศีล และรู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย ดูกรอานนท์บุคคลนี้ดีกว่าและประณีตกว่าบุคคลที่กล่าวข้างต้น - ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้องบุคคลนี้ ใครเล่าจะพึงรู้เหตุนั้นได้ นอกจากตถาคต - ดูกรอานนท์ เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายอย่าได้เป็นผู้ชอบประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณในบุคคล เพราะผู้ถือประมาณในบุคคล ย่อมทำลายคุณวิเศษของตน เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ - ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศีล แต่ไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นไม่ทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อมอย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญ - ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศีล และรู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม - ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณใน บุคคลได้ ฯ - ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ #เป็นผู้มีราคะกล้า ทั้งไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งราคะของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อมอย่างเดียวไม่ถึงความเจริญ - ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีราคะกล้า แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งราคะของเขาตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัยเมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความ เจริญอย่างเดียวไม่ถึงความเสื่อม ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณใน บุคคลได้ ฯ ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ ทั้งไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญา วิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความโกรธของเขาตามความเป็นจริง บุคคลนั้นไม่กระทำกิจ แม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้ วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม อย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญ ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความโกรธของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟังกระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึง ความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณ ในบุคคลได้ ฯ ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ทั้งไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตามความเป็นจริงบุคคลนั้นไม่กระทำกิจ แม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้ วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม อย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฟุ้งซ่าน แต่รู้ชัด ซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูตแทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความ เจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อมดูกรอานนท์ พวกคนผู้ถือประมาณ ย่อมประมาณในเรื่องนั้นว่า ธรรมแม้ของคนนี้ก็เหล่านั้นแหละ ธรรมแม้ของคนอื่นก็เหล่านั้นแหละ เพราะเหตุไรในสองคน นั้น คนหนึ่งเลว คนหนึ่งดี ก็การประมาณของคนผู้ถือประมาณเหล่านั้นย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อทุกข์ ตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์ในสองคนนั้น บุคคลใดเป็นผู้ฟุ้งซ่าน แต่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตาม ความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอด ด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย บุคคลนี้ดีกว่า และประณีตกว่าบุคคลที่กล่าว ข้างต้นโน้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้องบุคคลนี้ ใครเล่าจะพึง รู้เหตุนั้นได้นอกจากตถาคต ดูกรอานนท์ เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายอย่าประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณในบุคคลเพราะผู้ถือประมาณในบุคคล ย่อมทำลายคุณวิเศษของตน เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ ดูกรอานนท์ ก็มิคสาลาอุบาสิกาเป็นพาล ไม่ฉลาด เป็นคนบอดมีปัญญาทึบ เป็นอะไร และพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอะไร ในญาณเครื่องกำหนดรู้ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของ บุคคล ดูกรอานนท์ บุคคล ๑๐ จำพวกนี้แลมีปรากฏอยู่ในโลก ดูกรอานนท์ บุรุษชื่อปุราณะ เป็นผู้ประกอบด้วยศีลเช่นใดบุรุษชื่ออิสิทัตตะก็เป็นผู้ประกอบด้วยศีลเช่นนั้น บุรุษชื่อปุราณะ จะได้รู้แม้คติของบุรุษชื่ออิสิทัตตะก็หามิได้ บุรุษชื่ออิสิทัตตะเป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาเช่นใด บุรุษชื่อปุราณะก็เป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาเช่นนั้นบุรุษชื่ออิสิทัตตะจะได้รู้แม้คติ ของบุรุษชื่อ ปุราณะก็หามิได้ ดูกรอานนท์ คนทั้งสองนี้เลวกว่ากันด้วยองค์คุณคนละอย่าง ด้วยประการฉะนี้ ฯ จบสูตรที่ ๕ link โปรแกรม E-tipitaka http://etipitaka.com/compare/thai/thaimc/24/123/?keywords= พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๔ สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต หน้าที่ ๑๒๒ ข้อที่ ๗๕
วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2562
ผลเสียที่ปล่อยจิตติดอารมณ์ พุทธวจนฉบับ ๘ อินทรียสังวร อ่านโดย ภิกขุเอเอ ...
ผลเสียที่ปล่อยจิตติดอารมณ์ ก่อให้เกิดอนุสัยทั้ง 3 พุทธวจนฉบับ ๘ อินทรียสังวร อ่านโดย ภิกขุเอเอ อธิจิตฺโต
#ฝึกทิ้งอารมณ์กันคะ
ผูกติดอารมณ์ทำให้เกิดอนุสัย ๓ สังโยชน์เครื่องผูกสัตว์ติดอยู่ในภพ..ละทิ้งอารมณ์ สุข ทุกข์ อยู่ อุเบกขาในพระสูตรอินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ.ต้อง.ละอุเบกขา.โดยการเห็นเกิดดับ.ไม่มีท่านพระอาจารย์.โยงพระสูตรไปไม่เป็นเลยนะนี้เรา!..แนะนำให้..ฟังคลิปเสียงอ่านพระสูตรของทางวัดนาป่าพงทำคะ..ในพระไตรปิฏกย่อๆ ไว้..ท่านเมตตาอ่านเต็มๆ..ให้ด้วย..จะเห็นถึงคำที่ไม่มีช่องโหว่ ..รูรั่ว..คำที่สมบูรณ์..บริบูรณ์..ดีแล้ว..โดยสิ้นเชิง..นั้นเป็นอย่างไร..สุคตวินโย พุทธวจนล้วนๆ ที่ #วัดนาป่าพง
CR. พุทธวจนฉบับ ๘ อินทรียสังวร อ่านโดย ภิกขุเอเอ อธิจิตฺโต
ดาวน์โหลดฟรี.. http://watnapp.com/audio/view_category/94/3171
CR.ภาพฟรีจาก https://pixabay.com
ก่อให้เกิดอนุสัยทั้ง ๓
ภิกษุทั้งหลาย !
เพราะอาศัย ตา ด้วย รูปทั้งหลาย ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ
การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย...
เพราะอาศัย หู ด้วย เสียงทั้งหลาย ด้วย จึงเกิดโสตวิญญาณ
การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย...
เพราะอาศัย จมูก ด้วย กลิ่นทั้งหลาย ด้วย จึงเกิดฆานวิญญาณ
การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย...
เพราะอาศัย ลิ้น ด้วย รสทั้งหลาย ด้วย จึงเกิดชิวหาวิญญาณ
การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย...
เพราะอาศัย กาย ด้วย โผฏฐัพพะทั้งหลาย ด้วย จึงเกิดกายวิญญาณ
การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย...
เพราะอาศัย ใจ ด้วย ธรรมารมณ์ทั้งหลาย ด้วย จึงเกิดมโนวิญญาณ
การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ;
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย
จึงเกิดเวทนา อันเป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขบ้าง.
บุคคลนั้น
เมื่อ สุขเวทนา ถูกต้องอยู่
ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่;
อนุสัยคือราคะ ย่อมตามนอน แก่บุคคลนั้น (ตสฺส ราคานุสโย อนุเสติ)
เมื่อ ทุกขเวทนา ถูกต้องอยู่
เขาย่อมเศร้าโศก ย่อมระทมใจ ย่อมคร่ำครวญ
ย่อมตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหลอยู่;
อนุสัยคือปฏิฆะ ย่อมตามนอน (เพิ่มความเคยชินให้) แก่บุคคลนั้น.
เมื่อ เวทนาอันไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุข ถูกต้องอยู่
เขาย่อมไม่รู้ตามเป็นจริง
ซึ่งสมุทยะ (เหตุเกิด) ของเวทนานั้นด้วย
ซึ่งอัตถังคมะ (ความดับไม่เหลือ) แห่งเวทนานั้นด้วย
ซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานั้นด้วย
ซึ่งอาทีนวะ (โทษ) ของเวทนานั้นด้วย
ซึ่งนิสสรณะ (อุบายเครื่องออกพ้นไป) ของเวทนานั้นด้วย;
อนุสัยคืออวิชชา ย่อมตามนอน (เพิ่มความเคยชินให้) แก่บุคคลนั้น.
บุคคลนั้นหนอ
(สุขาย เวทนาย ราคานุสยํ อปฺปหาย)
ยังละราคานุสัย อันเกิดจากสุขเวทนาไม่ได้;
(ทุกฺขาย เวทนาย ปฏิฆานุสยํ อปฺปฏิวิโนเทตฺวา)
ยังบรรเทาปฏิฆานุสัย อันเกิดจากทุกขเวทนาไม่ได้;
(อทุกฺขมสุขาย เวทนาย อวิชฺชานุสยํ อสมูหนิตฺวา)
ยังถอนอวิชชานุสัย อันเกิดจากอทุกขมสุขเวทนาไม่ได้;
(อวิชฺชํ อปฺปหาย วิชฺชํ อนุปฺปาเทตฺวา)
เมื่อยังละอวิชชาไม่ได้ และยังทำวิชชาให้เกิดขึ้นไม่ได้แล้ว,
(ทิฏฺเฐว ธมฺเม ทุกฺขสฺสนฺตกโร ภวิสฺสตีติ)
เขาจักทำที่สุดแห่งทุกข์ ในทิฏฐธรรม (รู้เห็นได้เลย) นี้ได้ นั้น;
(เนตํ ฐานํ วิชฺชติ ฯ)
ข้อนี้ ไม่เป็นฐานะที่จักมีได้.
อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒.
อินทรียสังวร ๑๙
วันพุธที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2562
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)