#ขันธ์ทั้งหลายดับลงไปในสัญญาเวทยิตนิโรธไม่ใช่ฐานะ
Cr.คุณคมสันห้องแบ่งปันธรรม วัดนาป่าพง
https://www.youtube.com/watch?v=GFMZIvwc4tk
เนื่องจากในเฟสบุคมีการถกกันถึง
เรื่องจิตตสังขารดับไปในสัญญาเวทยิตนิโรธ
มีคนกลุ่มหนึ่งกล่าวว่า
#ขันธ์ทั้งหลายก็ดับลงไปในสัญญานั้น
ผมขออนุญาตโพสข้อความที่อ้างอิงดังกล่าวนี้
และขอโอกาสกล่าวถึงเรื่องนี้ ดังนี้ครับ
--
ขอตอบคุณอานนท์ด้วยพระสูตรว่า
อีกประการหนึ่ง ภิกษุ ...
เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
โดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ
และอาสวะทั้งหลายของเธอย่อมสิ้นไป
เพราะเห็นด้วยปัญญา
ดูกรอาวุโส โดยนิปปริยายแม้เพียงเท่านี้แล
พระผู้มีพระภาคตรัสการบรรลุโอกาสในที่แคบ
(ปัญจาลสูตร)
-
จากพระสูตรที่พระอานนท์กล่าวถึงคำพระพุทธเจ้า
การบรรลุโอกาสในที่แคบมีได้ตั้งแต่ในปฐมฌาน
จนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ
-
#ด้วยการเห็นด้วยปัญญาถึงการมีอยู่ของสัญญา
และการดับไปของสัญญานั้นในสมาธิแต่ละสมาธิ
ชื่อว่าเห็นถึงความไม่เที่ยงและดับไปได้ของสัญญานั้นๆ
เมื่อเห็นซ้ำอยู่อย่างนี้
ย่อมไม่ยินดี ย่อมละ ไถ่ถอน ทำให้สิ้นสุดไป
-
ดูก่อนภิกษุ! ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว
เพราะความเบื่อหน่าย
เพราะความคลายกำหนัด
เพราะความดับไม่เหลือแห่งชราและมรณะ
ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น
อยู่แล้วไซร้, ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
"ภิกษุผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม"
(ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺโต)
-
อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า
'ตทังคนิพพานตทังคนิพพาน' ดังนี้.
-
อาวุโส! ตทังคนิพพานนี้พระผู้มีพระภาคตรัสไว้
ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?"
(พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
อาวุโส !
ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม
เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดจากวิเวกแล้วแลอยู่.
อาวุโส ! ตทังคนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ด้วยเหตุ
มีประมาณเท่านี้แล
เมื่อกล่าว โดยปริยาย.
(ในกรณีแห่งทุติยฌาน ตติยฌาน
จตุตถาฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญ-
ญายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ
เนวสัญญานาสัญญายตนะมีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนอง
เดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน
ทุกประการและในฐานะ
-
เป็นตทังคนิพพาน โดยปริยาย.
-
ส่วนสัญ ญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น
กล่าวไว้ในฐานะเป็นตทังคนิพพาน
โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ อีโมติคอน smile
-
อาวุโส !นัยอื่นอีกมีอยู่ :
ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
โดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา
อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
อาวุโส!ตทังคนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้
ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย. นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๔
--
จากพระสูตรที่คุณอานนท์อ้างถึง มีดังนี้ครับ
Cr.คุณคมสันห้องแบ่งปันธรรม วัดนาป่าพง
https://www.youtube.com/watch?v=GFMZIvwc4tk
เนื่องจากในเฟสบุคมีการถกกันถึง
เรื่องจิตตสังขารดับไปในสัญญาเวทยิตนิโรธ
มีคนกลุ่มหนึ่งกล่าวว่า
#ขันธ์ทั้งหลายก็ดับลงไปในสัญญานั้น
ผมขออนุญาตโพสข้อความที่อ้างอิงดังกล่าวนี้
และขอโอกาสกล่าวถึงเรื่องนี้ ดังนี้ครับ
--
ขอตอบคุณอานนท์ด้วยพระสูตรว่า
อีกประการหนึ่ง ภิกษุ ...
เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
โดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ
และอาสวะทั้งหลายของเธอย่อมสิ้นไป
เพราะเห็นด้วยปัญญา
ดูกรอาวุโส โดยนิปปริยายแม้เพียงเท่านี้แล
พระผู้มีพระภาคตรัสการบรรลุโอกาสในที่แคบ
(ปัญจาลสูตร)
-
จากพระสูตรที่พระอานนท์กล่าวถึงคำพระพุทธเจ้า
การบรรลุโอกาสในที่แคบมีได้ตั้งแต่ในปฐมฌาน
จนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ
-
#ด้วยการเห็นด้วยปัญญาถึงการมีอยู่ของสัญญา
และการดับไปของสัญญานั้นในสมาธิแต่ละสมาธิ
ชื่อว่าเห็นถึงความไม่เที่ยงและดับไปได้ของสัญญานั้นๆ
เมื่อเห็นซ้ำอยู่อย่างนี้
ย่อมไม่ยินดี ย่อมละ ไถ่ถอน ทำให้สิ้นสุดไป
-
ดูก่อนภิกษุ! ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว
เพราะความเบื่อหน่าย
เพราะความคลายกำหนัด
เพราะความดับไม่เหลือแห่งชราและมรณะ
ด้วยความเป็นผู้ไม่ยึดมั่นถือมั่น
อยู่แล้วไซร้, ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า
"ภิกษุผู้บรรลุแล้วซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม"
(ทิฏฺฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺโต)
-
อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า
'ตทังคนิพพานตทังคนิพพาน' ดังนี้.
-
อาวุโส! ตทังคนิพพานนี้พระผู้มีพระภาคตรัสไว้
ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?"
(พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
อาวุโส !
ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม
เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดจากวิเวกแล้วแลอยู่.
อาวุโส ! ตทังคนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ด้วยเหตุ
มีประมาณเท่านี้แล
เมื่อกล่าว โดยปริยาย.
(ในกรณีแห่งทุติยฌาน ตติยฌาน
จตุตถาฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญ-
ญายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ
เนวสัญญานาสัญญายตนะมีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนอง
เดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน
ทุกประการและในฐานะ
-
เป็นตทังคนิพพาน โดยปริยาย.
-
ส่วนสัญ ญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น
กล่าวไว้ในฐานะเป็นตทังคนิพพาน
โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ อีโมติคอน smile
-
อาวุโส !นัยอื่นอีกมีอยู่ :
ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
โดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
อนึ่งเพราะเห็นด้วยปัญญา
อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
อาวุโส!ตทังคนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้
ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย. นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๔
--
จากพระสูตรที่คุณอานนท์อ้างถึง มีดังนี้ครับ
ดูกรวิสาขะผู้มีอายุ
ลมหายใจออกและลมหายใจเข้าเหล่านี้
เป็นธรรมมีในกาย เนื่องด้วยกาย
ฉะนั้น ลมหายใจออกและลมหายใจเข้า
จึงเป็นกายสังขาร
บุคคลย่อมตรึกย่อมตรองก่อนแล้ว
จึงเปล่งวาจา ฉะนั้น วิตกและวิจาร
จึงเป็นวจีสังขาร สัญญาและเวทนา
เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา
จึงเป็นจิตตสังขาร
-
เรื่องสัญญาเวทยิตนิโรธ
[๕๑๐] วิ. ข้าแต่พระแม่เจ้า
ก็การเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ เป็นอย่างไร?
ธ. ดูกรวิสาขะผู้มีอายุ
ภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
มิได้มีความคิดอย่างนี้ว่า เราจักเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
ว่าเรากำลังเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่
ว่าเราเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธแล้ว
ก็แต่ความคิดอันนำเข้าไปเพื่อความเป็นอย่างนั้น
อันท่านให้เกิดแล้วตั้งแต่แรก.
วิ. ข้าแต่พระแม่เจ้า ก็เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ธรรม
คือ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร
อย่างไหน ย่อมดับไปก่อน?
ธ. ดูกรวิสาขะผู้มีอายุ เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
วจีสังขารดับก่อน ต่อจากนั้น
กายสังขารก็ดับ จิตตสังขารดับทีหลัง
-
จากที่พระสูตรกล่าวว่า สัญญาและเวทนา
เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา จึงเป็นจิตตสังขาร
เป็นสิ่งที่ถูกต้องว่า สัญญา และ เวทนา
เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
หากจะใช้ตรรกะก็คือว่า
สัญญาและเวทนาเป็นส่วนหนึ่งของจิตตสังขาร
จิตที่เข้าไปตั้งอาศัยในสัญญาและเวทนา
กล่าวว่าเป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
(ภิกษุณีกำลังแยก สัญญาและเวทนาออกจากจิต
ในจิตตสังขารโดยใช้คำว่า มีในจิต เนื่องด้วยจิต )
--
#ขอโอกาส
การปรุงแต่งนี้ว่า
สัญญาโดยความเป็นตน ตนมีในสัญญา เป็นตน
เวทนาโดยความเป็นตน ตนมีในเวทนาเป็นตน
กล่าวว่าเป็นจิตตสังขาร(สังขารขันธ์ปรุงแต่งจิตหรือวิญญาณ)
ดังนั้นการประจวบถึงพร้อมด้วยจิตตสังขารนี้
จึงประกอบไปด้วย
เวทนา สัญญา (เป็นส่วนของจิตตสังขาร)
และ สังขาร วิญญาณ (เป็นเครื่องทำให้ถึงพร้อม)
-
คุณอานนท์เหมารวมคำว่า จิตตสังขาร ดับ
คือ สัญญาและเวทนา สังขาร วิญญาณดับนั้น ไม่ถูกต้อง
-
เพรานางทินนาภิกษุณีกล่าวนำไว้ก่อนแล้วว่า
สัญญาและเวทนา เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา จึงเป็นจิตตสังขาร
-
... เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ...
จิตตสังขารดับทีหลัง
จากคำกล่าวของนางทินนาภิกษุณี
ไม่ได้หมายถึงสังขารและวิญญาณดับไป
แต่จิตตสังขารที่กล่าวไว้แต่ต้น
คือ ส่วนสัญญาและเวทนา
นี้เป็นจิตตสังขารที่ดับไปในสัญญาเวทยิตนิโรธ
-
วิญญาณย่อมถูกสังขารปรุงแต่งต่อไปว่า นี้เป็นเรา
-
เพราะความไม่ยินดี หมดซึ่งอุปาทานในขันธ์
บุคคลเป็นผู้มีสติออกจากสมาธิ
แล้วเห็นด้วยปัญญาว่า
ธรรมที่ล่วงแล้ว ดับแล้ว แปรปรวนไปแล้วว่า
ด้วยประการนี้
เป็นอันว่า ธรรมที่ไม่มีแก่เรา ย่อมมี ที่มีแล้ว ย่อมเสื่อมไป
อุปาทานในขันธ์นั้นไม่เป็นความติดตามของบุคคลนั้น
ย่อมไม่ยินดี ไถ่ถอน ถึงความสิ้นสุดไป
กระทำให้ไม่มีเหลือ แล้วมีจิตที่น้อมไปสู่
วิเวก วิราคะ อาศัยนิโรธ เป็นไปเพื่อความสลัดคืน
กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วเพราะไม่ยึดมั่นถือมั่นด้วยอุปาทานในขันธ์
ย่อมถึงพร้อมด้วยเจโตวิมุตติอันไม่กำเริบได้อีก
ความหลุดพ้นมีอันไม่เสื่อมสูญ
ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ไม่มีภพใหม่อีก
---
ที่กล่าวว่าจิตตสังขารดับหมด ก็กล่าวผิดจากพุทธวจน
--
เจโตวิมุตติที่กำเริบคือ มิจฉาเจโตวิมุตติ เท่านั้น
(คือนิพพานของพวกเดียรถีย์เหล่าอื่น
ที่คิดว่าเขานั้นก็มีนิพพานของเขา)
-
พระศาสดาทรงตรัสว่าเจโตวิมุติของเราไม่กำเริบ
ชาตินี้มีในที่สุด บัดนี้ความเกิดอีกมิได้มี
-
เมื่อบรรลุเจโตวิมุตติแล้วการจะกล่าวว่ากลับกำเริบนั้น
ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
ยกเว้น เจโตวิมุตติของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเท่านั้น
ที่คิดว่านี้เป็นนิพพานของเขาแล้วแต่หากใช่ไม่
-
ที่กล่าวว่าพระสารีบุตรมีสติเข้า-ออกในสมาธิเนวสัญญาฯ
ยังควรกล่าวต่อไปว่าเพราะล่วงเนวสัญญาพึงเข้าสู่สัญญาเวทยิตฯ
ไม่ได้หยุดอยู่ที่เนวสัญญา ตามที่คุณสุพลกล่าวไว้
-
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก
สารีบุตรล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวงแล้ว
เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่เพราะเห็นด้วยปัญญา
อาสวะของเธอจึงเป็นอันสิ้นไป
เธอย่อมมีสติออกจากสมาบัตินั้นครั้น
แล้วย่อมพิจารณาเห็นธรรมที่ล่วงแล้ว
ดับแล้ว แปรปรวนไปแล้วว่าด้วยประการ
นี้ เป็นอันว่า ธรรมที่ไม่มีแก่เรา ย่อมมี ที่มีแล้ว
ย่อมเสื่อมไปเธอไม่ยินดี
ไม่ยินร้าย อันกิเลสไม่อาศัย ไม่พัวพัน พ้นวิเศษแล้ว
พรากได้แล้วในธรรมนั้นๆ
มีใจอันกระทำให้ปราศจากเขตแดนได้แล้วอยู่
ย่อมรู้ชัดว่ายังมีธรรมเครื่องสลัด ออกยิ่งขึ้นไปอยู่
และมีความเห็นต่อไปว่าผู้ที่ทำเครื่องสลัดออกนั้นให้มากก็มีอยู่ ฯ
(อนุปทสูตร)
--
คำกล่าวนี้ถูกต้องตามพุทธวจนครับ
เมื่อเป็นผู้มีสติออกจากสมาธิผัสสะถึงความเป็นของว่าง
เพราะความดับไปแห่งเวทนาในกาลก่อน ผัสสะย่อมดับไป
คำกล่าวว่าไม่มีอะไรในสัญญาเวทยิตนิโรธ
--
จึงไม่ถูกต้องตามพุทธวจนเ
พราะนามรูปพร้อมทั้งวิญญาณ
ตั้งอยู่เพื่อการบัญญัติซึ่งความเป็นอย่างนี้
เพราะหากวิญญาณไม่เข้าไปตั้งอาศัยในนามรูปแล้ว
ความเกิดขึ้นแห่งชาติ ชรา มรณะ
จะไม่พึงมีขึ้นได้ เรื่องที่จะต้องรู้ด้วยปัญญา
(เพื่อให้เห้นถึงอริยสัจเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ)
-
พระศาสดาก็ทรงตรัสไว้แล้วว่าก็มีเพียงเท่านี้คือ
นามรูปพร้อมทั้งวิญญาณตั้งอยู่
เพื่อการบัญยัติซึ่งความเป็นอย่างนี้นั่นเอง
ดังนั้นหากคุณสุพลคิดว่าทุกสิ่งดับไปหมด
แล้วปัญญาจะเกิดขึ้นมาเมื่อไรสิ่งใด
เป็นที่เข้าและออกจากสมาธิ ในเมื่อทุกสิ่งดับไปหมด
--
พระสูตรที่จะนำมากล่าว
ก็เป็นพระสูตรเดียวกับที่คุณอานนท์ยกกล่าวไว้
สัญญาและเวทนาเป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา จึงเป็นจิตตสังขาร
สัญญาและเวทนาเป็นธรรมที่จิตเข้าไปตั้งอาศัยอยู่(มีใน,เนื่องด้วย)
เพราะอาศัยซึ่งสังขารเป็นธรรมเครื่องปรุงแต่งจิตว่า
สัญญาและเวทนา นี้เป็นเรา(อัสมีติ)
---
ในเมื่อคิดว่าขันธ์ทั้งหลายดับไปหมดแล้ว
ในสัญญาเวทยิตฯ และยังไม่ใช่นิพพาน
จนกว่าจะมีการเข้าและออกจากสมาบัติ
แล้วเห็นแจ้งด้วยปัญญา จึงจะนิพพาน
ลมหายใจออกและลมหายใจเข้าเหล่านี้
เป็นธรรมมีในกาย เนื่องด้วยกาย
ฉะนั้น ลมหายใจออกและลมหายใจเข้า
จึงเป็นกายสังขาร
บุคคลย่อมตรึกย่อมตรองก่อนแล้ว
จึงเปล่งวาจา ฉะนั้น วิตกและวิจาร
จึงเป็นวจีสังขาร สัญญาและเวทนา
เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา
จึงเป็นจิตตสังขาร
-
เรื่องสัญญาเวทยิตนิโรธ
[๕๑๐] วิ. ข้าแต่พระแม่เจ้า
ก็การเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ เป็นอย่างไร?
ธ. ดูกรวิสาขะผู้มีอายุ
ภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
มิได้มีความคิดอย่างนี้ว่า เราจักเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
ว่าเรากำลังเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่
ว่าเราเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธแล้ว
ก็แต่ความคิดอันนำเข้าไปเพื่อความเป็นอย่างนั้น
อันท่านให้เกิดแล้วตั้งแต่แรก.
วิ. ข้าแต่พระแม่เจ้า ก็เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ธรรม
คือ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร
อย่างไหน ย่อมดับไปก่อน?
ธ. ดูกรวิสาขะผู้มีอายุ เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
วจีสังขารดับก่อน ต่อจากนั้น
กายสังขารก็ดับ จิตตสังขารดับทีหลัง
-
จากที่พระสูตรกล่าวว่า สัญญาและเวทนา
เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา จึงเป็นจิตตสังขาร
เป็นสิ่งที่ถูกต้องว่า สัญญา และ เวทนา
เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
หากจะใช้ตรรกะก็คือว่า
สัญญาและเวทนาเป็นส่วนหนึ่งของจิตตสังขาร
จิตที่เข้าไปตั้งอาศัยในสัญญาและเวทนา
กล่าวว่าเป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
(ภิกษุณีกำลังแยก สัญญาและเวทนาออกจากจิต
ในจิตตสังขารโดยใช้คำว่า มีในจิต เนื่องด้วยจิต )
--
#ขอโอกาส
การปรุงแต่งนี้ว่า
สัญญาโดยความเป็นตน ตนมีในสัญญา เป็นตน
เวทนาโดยความเป็นตน ตนมีในเวทนาเป็นตน
กล่าวว่าเป็นจิตตสังขาร(สังขารขันธ์ปรุงแต่งจิตหรือวิญญาณ)
ดังนั้นการประจวบถึงพร้อมด้วยจิตตสังขารนี้
จึงประกอบไปด้วย
เวทนา สัญญา (เป็นส่วนของจิตตสังขาร)
และ สังขาร วิญญาณ (เป็นเครื่องทำให้ถึงพร้อม)
-
คุณอานนท์เหมารวมคำว่า จิตตสังขาร ดับ
คือ สัญญาและเวทนา สังขาร วิญญาณดับนั้น ไม่ถูกต้อง
-
เพรานางทินนาภิกษุณีกล่าวนำไว้ก่อนแล้วว่า
สัญญาและเวทนา เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา จึงเป็นจิตตสังขาร
-
... เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ...
จิตตสังขารดับทีหลัง
จากคำกล่าวของนางทินนาภิกษุณี
ไม่ได้หมายถึงสังขารและวิญญาณดับไป
แต่จิตตสังขารที่กล่าวไว้แต่ต้น
คือ ส่วนสัญญาและเวทนา
นี้เป็นจิตตสังขารที่ดับไปในสัญญาเวทยิตนิโรธ
-
วิญญาณย่อมถูกสังขารปรุงแต่งต่อไปว่า นี้เป็นเรา
-
เพราะความไม่ยินดี หมดซึ่งอุปาทานในขันธ์
บุคคลเป็นผู้มีสติออกจากสมาธิ
แล้วเห็นด้วยปัญญาว่า
ธรรมที่ล่วงแล้ว ดับแล้ว แปรปรวนไปแล้วว่า
ด้วยประการนี้
เป็นอันว่า ธรรมที่ไม่มีแก่เรา ย่อมมี ที่มีแล้ว ย่อมเสื่อมไป
อุปาทานในขันธ์นั้นไม่เป็นความติดตามของบุคคลนั้น
ย่อมไม่ยินดี ไถ่ถอน ถึงความสิ้นสุดไป
กระทำให้ไม่มีเหลือ แล้วมีจิตที่น้อมไปสู่
วิเวก วิราคะ อาศัยนิโรธ เป็นไปเพื่อความสลัดคืน
กล่าวได้ว่า จิตหลุดพ้นแล้วเพราะไม่ยึดมั่นถือมั่นด้วยอุปาทานในขันธ์
ย่อมถึงพร้อมด้วยเจโตวิมุตติอันไม่กำเริบได้อีก
ความหลุดพ้นมีอันไม่เสื่อมสูญ
ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ไม่มีภพใหม่อีก
---
ที่กล่าวว่าจิตตสังขารดับหมด ก็กล่าวผิดจากพุทธวจน
--
เจโตวิมุตติที่กำเริบคือ มิจฉาเจโตวิมุตติ เท่านั้น
(คือนิพพานของพวกเดียรถีย์เหล่าอื่น
ที่คิดว่าเขานั้นก็มีนิพพานของเขา)
-
พระศาสดาทรงตรัสว่าเจโตวิมุติของเราไม่กำเริบ
ชาตินี้มีในที่สุด บัดนี้ความเกิดอีกมิได้มี
-
เมื่อบรรลุเจโตวิมุตติแล้วการจะกล่าวว่ากลับกำเริบนั้น
ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
ยกเว้น เจโตวิมุตติของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเท่านั้น
ที่คิดว่านี้เป็นนิพพานของเขาแล้วแต่หากใช่ไม่
-
ที่กล่าวว่าพระสารีบุตรมีสติเข้า-ออกในสมาธิเนวสัญญาฯ
ยังควรกล่าวต่อไปว่าเพราะล่วงเนวสัญญาพึงเข้าสู่สัญญาเวทยิตฯ
ไม่ได้หยุดอยู่ที่เนวสัญญา ตามที่คุณสุพลกล่าวไว้
-
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก
สารีบุตรล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวงแล้ว
เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่เพราะเห็นด้วยปัญญา
อาสวะของเธอจึงเป็นอันสิ้นไป
เธอย่อมมีสติออกจากสมาบัตินั้นครั้น
แล้วย่อมพิจารณาเห็นธรรมที่ล่วงแล้ว
ดับแล้ว แปรปรวนไปแล้วว่าด้วยประการ
นี้ เป็นอันว่า ธรรมที่ไม่มีแก่เรา ย่อมมี ที่มีแล้ว
ย่อมเสื่อมไปเธอไม่ยินดี
ไม่ยินร้าย อันกิเลสไม่อาศัย ไม่พัวพัน พ้นวิเศษแล้ว
พรากได้แล้วในธรรมนั้นๆ
มีใจอันกระทำให้ปราศจากเขตแดนได้แล้วอยู่
ย่อมรู้ชัดว่ายังมีธรรมเครื่องสลัด ออกยิ่งขึ้นไปอยู่
และมีความเห็นต่อไปว่าผู้ที่ทำเครื่องสลัดออกนั้นให้มากก็มีอยู่ ฯ
(อนุปทสูตร)
--
คำกล่าวนี้ถูกต้องตามพุทธวจนครับ
เมื่อเป็นผู้มีสติออกจากสมาธิผัสสะถึงความเป็นของว่าง
เพราะความดับไปแห่งเวทนาในกาลก่อน ผัสสะย่อมดับไป
คำกล่าวว่าไม่มีอะไรในสัญญาเวทยิตนิโรธ
--
จึงไม่ถูกต้องตามพุทธวจนเ
พราะนามรูปพร้อมทั้งวิญญาณ
ตั้งอยู่เพื่อการบัญญัติซึ่งความเป็นอย่างนี้
เพราะหากวิญญาณไม่เข้าไปตั้งอาศัยในนามรูปแล้ว
ความเกิดขึ้นแห่งชาติ ชรา มรณะ
จะไม่พึงมีขึ้นได้ เรื่องที่จะต้องรู้ด้วยปัญญา
(เพื่อให้เห้นถึงอริยสัจเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ)
-
พระศาสดาก็ทรงตรัสไว้แล้วว่าก็มีเพียงเท่านี้คือ
นามรูปพร้อมทั้งวิญญาณตั้งอยู่
เพื่อการบัญยัติซึ่งความเป็นอย่างนี้นั่นเอง
ดังนั้นหากคุณสุพลคิดว่าทุกสิ่งดับไปหมด
แล้วปัญญาจะเกิดขึ้นมาเมื่อไรสิ่งใด
เป็นที่เข้าและออกจากสมาธิ ในเมื่อทุกสิ่งดับไปหมด
--
พระสูตรที่จะนำมากล่าว
ก็เป็นพระสูตรเดียวกับที่คุณอานนท์ยกกล่าวไว้
สัญญาและเวทนาเป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต
ฉะนั้นสัญญาและเวทนา จึงเป็นจิตตสังขาร
สัญญาและเวทนาเป็นธรรมที่จิตเข้าไปตั้งอาศัยอยู่(มีใน,เนื่องด้วย)
เพราะอาศัยซึ่งสังขารเป็นธรรมเครื่องปรุงแต่งจิตว่า
สัญญาและเวทนา นี้เป็นเรา(อัสมีติ)
---
ในเมื่อคิดว่าขันธ์ทั้งหลายดับไปหมดแล้ว
ในสัญญาเวทยิตฯ และยังไม่ใช่นิพพาน
จนกว่าจะมีการเข้าและออกจากสมาบัติ
แล้วเห็นแจ้งด้วยปัญญา จึงจะนิพพาน
ผมจะถามคุณอานนท์ย้อนกลับว่า
หากความคิดของคุณอานนท์เป็นจริง
สภาวะนั้นในสัญญาเวทยิตฯ ชื่อว่าเป็น สุญญตา
จะมีสิ่งใดที่คุณอานนท์กล่าวว่าจะมีการเข้า มีการออก อีกครับ
สติ ปัญญา เป็นสิ่งที่ดับไปหมดแล้ว
(คลองแห่งการเรียกและบัญญัติซึ่งธรรมทั้งหลายมีได้
เพราะขันธ์๕ นามรูป-วิญญาณ)
ตามความคิดของคุณอานนท์
กล่าวว่าจะเห็นด้วยปัญญานั้นไม่พึงมีได้
นิพพานนั้นจะมีได้อย่างไร
--
คุณอานนท์ใช้คำผิดครับ
คุณอานนท์ควรใช้คำว่า
วิญญาณเข้าไปตั้งอาศัยอยู่ใน
รูปเวทนา สัญญา สังขาร ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอาศัยได้
โดยมี รูป เวทนา สัญญา สังขาร นั้นเป็นอารมณ์
-
และจากที่คุณสมชายกรุณายกพระสูตรนั้น
พระศาสดาทรงตรัสว่าสังขาร(นั้นเป็นคำที่มีประมาณกว้าง)
ย่อมปรุงแต่งขันธ์ทั้งหลาย จิตนั้นพระศาสดาทรงตรัสว่า
ภิกษุ ท.! ทำ ไมเขาจึงกล่าวกันว่า วิญญาณ ?
ภิกษุ ท.! ธรรมชาตินั้น ย่อมรู้แจ้ง (วิชานาติ)
เหตุนั้นจึงเรียกว่า วิญญาณ
-
ดังนั้นวิญญาณหรือที่เรียกว่าจิตนั้น
การกล่าวว่าไปปรุงแต่งขันธ์ทั้งหลายนั้น
ย่อมชื่อว่ากล่าวตู่คำพระศาสดาด้วยถ้อยคำที่ตนถือเอาผิด
เพราะตนเองจับฉวยเอาผิดในธรรมที่พระศาสดาทรงแสดงแล้ว
--
เพราะผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธได้แล้วเท่านั้น
ย่อมกล่าวอะไรเป็นอะไรได้
ไม่ใช่เป็นการตีความเอาเองจากพุทธวจนเพียงอย่างเดียว
หากความคิดของคุณอานนท์เป็นจริง
สภาวะนั้นในสัญญาเวทยิตฯ ชื่อว่าเป็น สุญญตา
จะมีสิ่งใดที่คุณอานนท์กล่าวว่าจะมีการเข้า มีการออก อีกครับ
สติ ปัญญา เป็นสิ่งที่ดับไปหมดแล้ว
(คลองแห่งการเรียกและบัญญัติซึ่งธรรมทั้งหลายมีได้
เพราะขันธ์๕ นามรูป-วิญญาณ)
ตามความคิดของคุณอานนท์
กล่าวว่าจะเห็นด้วยปัญญานั้นไม่พึงมีได้
นิพพานนั้นจะมีได้อย่างไร
--
คุณอานนท์ใช้คำผิดครับ
คุณอานนท์ควรใช้คำว่า
วิญญาณเข้าไปตั้งอาศัยอยู่ใน
รูปเวทนา สัญญา สังขาร ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอาศัยได้
โดยมี รูป เวทนา สัญญา สังขาร นั้นเป็นอารมณ์
-
และจากที่คุณสมชายกรุณายกพระสูตรนั้น
พระศาสดาทรงตรัสว่าสังขาร(นั้นเป็นคำที่มีประมาณกว้าง)
ย่อมปรุงแต่งขันธ์ทั้งหลาย จิตนั้นพระศาสดาทรงตรัสว่า
ภิกษุ ท.! ทำ ไมเขาจึงกล่าวกันว่า วิญญาณ ?
ภิกษุ ท.! ธรรมชาตินั้น ย่อมรู้แจ้ง (วิชานาติ)
เหตุนั้นจึงเรียกว่า วิญญาณ
-
ดังนั้นวิญญาณหรือที่เรียกว่าจิตนั้น
การกล่าวว่าไปปรุงแต่งขันธ์ทั้งหลายนั้น
ย่อมชื่อว่ากล่าวตู่คำพระศาสดาด้วยถ้อยคำที่ตนถือเอาผิด
เพราะตนเองจับฉวยเอาผิดในธรรมที่พระศาสดาทรงแสดงแล้ว
--
เพราะผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธได้แล้วเท่านั้น
ย่อมกล่าวอะไรเป็นอะไรได้
ไม่ใช่เป็นการตีความเอาเองจากพุทธวจนเพียงอย่างเดียว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น