กรรมคืออะไร การแก้กรรมที่ถูกต้องอย่างไ
ตัดจากคลิป สนทนาธรรมเช้าวันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม 2560
กราบขอบพระคุณคลิปยูทูปจาก คุณ ป๊อก บางกรวย
https://www.youtube.com/
คลิปเพจ + พระสูตร
https://www.facebook.com/
คลิปยูทูป
https://www.youtube.com/
ถ่ายทอดคำพระศาสดาโดย : พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
ณ ศาลาไม้ วัดนาป่าพง ลำลูกกาคลอง 10 ปทุมธานี
--
ท่านใด ที่สร้างเพจ มีรายได้จากโฆษณา โดยนำคลิปยูทูป ข้าพเจ้า อับโหลดไป ดึงยอดผู้เข้าชม โปรดเลิกพฤติกรรมด้วยคะ ท่าน กำลังเบียดเบียนข้าพเจ้าอยู
กำหนดงานถวายผ้ากฐินวัดนาป่
ท่านสามารถเข้ามาแสดงเจตนาไ
ลิงค์แสดงเจตนา : http://katin.watnapp.com/
ท่านผู้มีศรัทธา สามารถแสดงเจตนาจะถวายผ้ากฐ
http://katin.watnapp.com/
กรณีไม่สามารถลงทะเบียนได้ กรุณาแจ้งที่...
อาสาสมัครมูลนิธิพุทธโฆษณ์ โทร. 08 2222 5790 - 94 หรือ คณะสงฆ์วัดนาป่าพง หรือ
แจ้งแก้ไข/
😍😍😍
กราบขอบพระคุณ ทุกๆ like คะ
🙇♂️🙇♂️🙇♂️
ทางลัดสำหรับดูวีดีโอที่อับ
เพจนี้จัดทำขึ้นเพ่ือเผยแผ่
🙇🙇🙇 ด้วยความเมตตาจากคุณป๊อก บางกรวย( ตฤณ ภู่กาบเพ็ชร์ )
💡💡💡ติดตามการเผยแผ่พุทธวจนได้ท
http://watnapp.com/ (เว็บไซต์วัดนาป่าพง)
http://faq.watnapp.com/ (คำถามเกี่ยวกับพุทธวจน)
http://
https://www.youtube.com/
http://
เพจ Fanta Chaleeporn Buddhawajana Bn.312 เก็บคลิปคณะสงฆ์วัดนาป่าพง
https://www.facebook.com/
ช่องยูทูป Fanta Chaleeporn Buddhawajana Bn.312
https://www.youtube.com/
เพจ Fanta Chaleeporn Buddhawajana Bn.312 รวมคลิปพระสูตร โดย คณะสงฆ์วัดนาป่าพง
https://www.facebook.com/
#กรรมเป็นธาตุตามธรรมชาติ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เธอทั้งหลายพึงทราบกรรม ฯลฯ
ปฏิปทาที่ให้ถึงความดับแห่ง
-
เราอาศัยอะไรกล่าว ..
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เรากล่าวเจตนาว่าเป็นกรรม
บุคคลคิดแล้วจึงกระทำกรรมด้
-
ก็เหตุเกิดแห่งกรรมเป็นไฉน คือ..
ผัสสะเป็นเหตุเกิดแห่งกรรม
-
ก็ความต่างแห่งกรรมเป็นไฉน คือ..
กรรมที่ให้วิบากในนรกก็มี
ที่ให้วิบากในกำเนิดสัตว์ดิ
ที่ให้วิบากในเปรตวิสัยก็มี
ที่ให้วิบากในมนุษย์โลกก็มี
ที่ให้วิบากในเทวโลกก็มี
นี้เรียกว่าความต่างแห่งกรร
-
ก็วิบากแห่งกรรมเป็นไฉน คือ
เราย่อมกล่าววิบากแห่งกรรมว
กรรมที่ให้ผลในปัจจุบัน ๑
กรรมที่ให้ผลในภพที่เกิด ๑
กรรมที่ให้ผลในภพต่อๆ ไป ๑
นี้เรียกว่าวิบากแห่งกรรม
-
ความดับแห่งกรรมเป็นไฉน คือ ..
ความดับแห่งกรรมย่อมเกิดขึ้
-
อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการนี้แล คือ..
สัมมาทิฐิ ฯลฯสัมมาสมาธิ เป็นปฏิปทาให้ถึงความดับแห่
---
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็เมื่อใด อริยสาวกย่อมทราบชัดกรรม
เหตุเกิดแห่งกรรม
ความต่างแห่งกรรม
วิบากแห่งกรรม
ความดับแห่งกรรม
ปฏิปทาที่ให้ถึงความดับแห่ง
--
เมื่อนั้น อริยสาวกนั้นย่อมทราบชัดพรห
เป็นที่ดับกรรมนี้ ข้อที่เรากล่าวว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เธอทั้งหลายพึงทราบกรรมฯลฯ ปฏิปทาที่ให้ถึงความดับแห่ง
-----
๙. นิพเพธิกสูตร
--
กรรม คืออะไร
พระศาสดาทรงตรัสว่า กรรม เป็นสิ่งที่บุคคลควรทราบ
นิยามของคำว่ากรรม ที่พระศาสดาทรงบัญญัติ คือ เรากล่าวซึ่งเจตนาว่าเป็นกร
กรรมอันบุคคลเจตนาแล้วย่อมก
เหตุเป็นแดนเกิดของกรรม คือ ผัสสะ และความดับแห่งกรรม คือ การดับแห่งผัสสะ
[ผัสสะ (สัมผัส) อาศัยตาด้วย ๑ อาศัยรูปด้วย ๑ จึงเกิด จักขุวิญญาณ ๑ (เป็นต้น)
การถึงพร้อมด้วยธรรม ๓ ประการนี้ จึงเรียกว่า จักขุสัมผัส หรือ ผัสสะทางตา (เป็นต้น)]
วิญญาณ ๖ อันได้แก่
จักขุวิญญาณ(รู้แจ้งทางตา)
โสตวิญญาณ(รู้แจ้งทางหู)
ฆานะวิญญาณ(รู้แจ้งทางจมูก)
ชิวหาวิญญาณ(รู้แจ้งทางลิ้น
กายวิญญาณ(รู้แจ้งทางสัมผัส
มโนวิญญาณ(รู้แจ้งทางธรรมาร
วิญญาณใดนี้ ย่อมมีที่ตั้งอาศัย
การจะบัญญัติซึ่งการมา การไป การจุติ การอุบัติ ของวิญญาณใดๆ
โดยเว้นจาก รูป(รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส), เวทนา,สัญญา,สังขาร นั้น ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
วิญญาณ(ใด) อาศัยรูปตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้
เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารม
มีรูปเป็นที่เข้าไปตั้งอาศั
ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ได้
(สิ่งที่วิญญาณเข้าไปตั้งอา
นั้นคือวิญญาณที่ตั้งอยู่ได
การก้าวลงแห่งนามรูป(รูป เวทนา สัญญา สังขาร)ก็มีอยู่ในที่นั้นๆ
(วิญญาณย่อมตั้งอาศัยในกลุ่
เมื่อการก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด การเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย
การเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย
เมื่อบุคคลคิดถึงสิ่งใดอยู่
และมีใจฝังลงไปในสิ่งใดอยู่
สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์เพื่
เมื่อวิญญาณตั้งขึ้นเฉพาะแล
พระศาสดาทรงอุปมา
เมล็ดพืช เปรียบเหมือน วิญญาณ
ผืนนา เปรียบเหมือนภพ
น้ำเปรียบเหมือนนันทิและราค
เมื่อเมล็ดพืชตกลงไปบนผืนนา
เปรียบเหมือนวิญญาณเข้าไปตั
เมล็ดพืชย่อมถึงความเจริญงอ
เปรียบเหมือนวิญญาณเจริญงอก
ส่วนอีกอุปมาหนึ่ง เมล็ดพืช เปรียบเหมือนวิญญาณ
เนื้อนาเปรียบเหมือน กรรม
ยางในเมล็ดพืชเปรียบเหมือนต
เมล็ดพืชตกลงไปบนเนื้อนา
เปรียบได้กับวิญญาณตั้งอาศั
เมล็ดพืชถึงความเจริญงามไพบ
เปรียบเหมือนกับตัณหาเป็นเช
ดังนั้น กรรม อันเป็นที่ตั้งอยู่ของวิญญา
เช่น ตาไปเห็นรูป วิญญาณทางตาเข้าไปเกลือกกลั
วิญญาณอาศัยรูปตั้งอยู่ รูปคือภพของวิญญาณ และ การเกิดขึ้นใหม่ของภพ ชื่อว่ากรรม(ใหม่)ได้เกิดขึ
กรรม นั้นแบ่งได้เป็น
กรรมเก่า อันได้แก่ ตา หุ จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เป็นกรรมเก่า
เป็นสิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่
กรรมใหม่ อันได้แก่ ผัสสะ เป็นเหตุเกิดของกรรมใหม่
การประจวบพร้อมด้วยองค์ ๓ นี้เรียกว่า ผัสสะ เช่น
ตา ไป เห็น รูป หากจักขุวิญญาณ(เข้าไปตั้งอ
อันเป็นวิสัยที่จะรู้ได้ด้ว
(มีกรณีที่ ตา มอง รูป แต่ วิญญาณ( จิต หรือ มโน) ไม่ได้เข้าไปอยู่ในคลองแห่ง
ผัสสะย่อมไม่เกิด การหมายรู้ทางตาไม่มี(ขาดจั
เพราะมีผัสสะ จึงเกิดเวทนา
เพราะมีเวทนา จึงมีตัณหา
เพราะมีตัณหา จึงมีอุปาทาน
เพราะมีอุปาทาน จึงมีภพ (กรรม)
เพราะมีภพ ชาติ ชรา มรณะ ย่อมมี
ดังนั้น การปรากฏแห่งวิญญาณ(ใด) มีใดที่ใด
ชื่อว่าการปรากฏแห่งภพ (กรรม) ชาติ ชรา มรณะ ย่อมมีในที่นั้น
ความดับไปแห่งกรรม มีได้เพราะความดับไปแห่งผัส
พิจารณาการเกิดขึ้นแห่งผัสส
อาศัยการน้อมไปแห่งวิญญาณ
ด้วยอาศัยตัณหานี้ใด อันทำความเกิดใหม่ให้เป็นปก
เป็นไปกันกับด้วยความกำหนัด
นี้เป็นเครื่องเข้าไปตั้งอา
ที่เข้าไปมีอยู่ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร อันเป็นภพ(กรรม) ของจิต(วิญญาณ)
หากจะดับกรรม คือ ภพอันทำความเกิดใหม่
ก็ต้องดับที่ผัสสะ คือเหตุเกิดของกรรม
เธอย่อมกระจายเสียให้ถูกวิธ
พระศาสดาจึงทรงให้กระจายเสี
ให้พิจารณาเห็นถึงองค์ประกอ
อาศัยกันและกันในการเกิดขึ้
สิ่งที่อาศัยกันแล้วเกิดขึ้
แล้วผัสสะจะเป็นของเที่ยงแต
และสิ่งที่เป็นผลตามมาจากผั
มรรควิธี
ดังนั้นการพิจาณาสิ่งที่ประ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตนนั้น
จะต้องเป็นผู้ที่เห็นซึ่งอร
เห็นการเกิดขึ้น และดับไปของสังขารทั้งหลาย เช่น
เห็นความเกิดและดับของ
ในจักษุ
ในจักขุวิญญาณ
ในธรรมที่รู้ได้ด้วยจักขุวิ
เมื่อเห็นตรงตามที่เป็นจริง
จักษุ
จักขุวิญญาณ
และธรรมที่รู้ได้ด้วยจักขุว
นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา
ปฏิปทานี้เป็นความดับไม่เหล
เพราะความสิ้นไปแห่งความเพล
เมื่อเห็นด้วยปัญญา ตรงตามที่เป็นจริงอยู่อย่าง
ขันธ์ ธาตุ อายตนะ มีอยู่ประมารเท่าไร
ย่อมไม่มั่นหมายซึ่ง ขันธ์ ธาตุ อายตนะ นั้น
ย่อมไม่มั่นหมายใน ขันธ์ ธาตุอายตนะนั้น
ย่อมไม่มั่นหมายโดยความเป็น
และย่อมไม่มั่นหมาย ขันธ์ ธาตุ อายตนะนั้น ว่าของเรา
นี้เป็นปฏิปทาเพื่อเพิกถอนค
เมื่อ ราคะ ที่มีอยู่ใน รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ อันบุคคลละได้แล้ว
วิญญาณย่อมไม่มีที่ตั้งอาศั
ดับลงไปได้เพราะไม่ถูกปัจจั
เมื่อวิญญาณไม่มีอยุ่ในที่ใ
ที่ใดที่ไม่มีวิญญาณและนามร
เป็นความดับไปไม่เหลือแห่งท
จะป่วยกล่าวไปใยถึงการดับแห
---
#มิจฉาทิฏฐิเรื่องกรรม ๔
#คติที่ไปของผู้มีมิจฉาทิ
#แก้กรรมด้วยมรรคแปดเท่าน
กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล
กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากตัวเองบันดาล
กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นและตนเ
กรรมและสุขทุกข์ ไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆโดยปร
**
นิทานสัมภวะ(แดนเกิด)แห่งกร
และกัมมนิโรธ(ความดับกรรม)แ
ย่อมมีเพราะความดับไปแห่งผั
**
ภิกษุโมลิยผัคคุนะ ได้ทูลถามขึ้นว่า
"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! ก็ใครเล่า ย่อมสัมผัส พระเจ้าข้า?"
นั่นเป็นปัญหาที่ไม่ควรจะเป
เราย่อมไม่กล่าวว่า "บุคคลย่อมสัมผัส" ดังนี้
ถ้าเราได้กล่าวว่า "บุคคล ย่อมสัมผัส" ดังนี้
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหาในข้
ที่ควรถามขึ้นว่า "ก็ใครเล่า ย่อมสัมผัส พระเจ้าข้า?" ดังนี้
ก็เรามิได้กล่าวอย่างนั้น
ถ้าผู้ใดจะพึงถามเรา ผู้มิได้กล่าวอย่างนั้น เช่นนี้ว่า
"ผัสสะมี เพราะมีอะไรเป็นปัจจัย พระเจ้าข้า?" ดังนี้แล้ว
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหาที่ค
คำ เฉลยที่ควรเฉลยในปัญหาข้อนั
"เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทน า (ความ รู้สึกต่ออารมณ์)" ดังนี้
"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! ก็ใครเล่า ย่อมรู้สึกต่ออารมณ์ พระเจ้าข้า?"
นั่นเป็นปัญหาที่ไม่ควรจะเป
เราย่อมไม่กล่าวว่า "บุคคลย่อมรู้สึกต่ออารมณ์"
ถ้าเราได้กล่าวว่า "บุคคลย่อมรู้สึกต่ออารมณ์"
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหาในข้
ที่ควรถามขึ้นว่า "ก็ใครเล่า ย่อมรู้สึกต่ออารมณ์ พระเจ้าข้า?"ดังนี้
ก็เรามิได้กล่าวอย่างนั้น
ถ้าผู้ใดจะพึงถามเรา ผู้มิได้กล่าวอย่างนั้น เช่นนี้ว่า
"เพราะมีอะไรเป็นปัจจัย จึงมีเวทนาพระเจ้าข้า?" ดังนี้แล้ว
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหา ที่ควรแก่ความเป็นปัญหา
คำเฉลยที่ควรเฉลยในปัญหาข้อ
"เพราะมี ผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณ หา (ความอยาก)" ดังนี้
"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! ก็ใครเล่า ย่อมอยาก พระเจ้าข้า?"
นั่นเป็นปัญหาที่ไม่ควรจะเป
ย่อมไม่กล่าวว่า "บุคคลย่อมอยาก" ดังนี้
หากเราได้กล่าวว่า "บุคลลย่อมอยาก" ดังนี้
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหาในข้
"ก็ใครเล่า ย่อมอยาก พระเจ้าข้า?" ดังนี้
ก็เรามิได้กล่าวอย่างนั้น
ถ้าผุ้ใดจะพึงถามเรา ผู้มิได้กล่าวอย่างนั้น เช่นนี้ว่า
"เพราะมีอะไรเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา พระเจ้าข้า?" ดังนี้แล้ว
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหาที่ค
คำเฉลยที่ควรเฉลยในปัญหาข้อ
"เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน (ความยึดมั่น)" ดังนี้
"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! ก็ใครเล่า ย่อมยึดมั่น พระเจ้าข้า?"
นั่นเป็นปัญหาที่ไม่ควรจะเป
เราย่อมไม่กล่าวว่า "บุคคลย่อมยึดมั่น" ดังนี้
ถ้าเราได้กล่าวว่า "บุคคลย่อมยึดมั่น" ดังนี้
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหาในข้
"ก็ใครเล่า ย่อมยึดมั่น พระเจ้าข้า?" ดังนี้ ก็เรามิได้กล่าวอย่างนั้น
ถ้าผู้ใดจะพึงถามเราผู้มิได
"เพราะมีอะไรเป็นปัจจัยจึงม
นั่นแหละจึงจะเป็นปัญหาที่ค
คำเฉลยที่ควรเฉลยในปัญหาข้อ
"เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัยจึง
เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะมีชาติเป็นปัจจัย
ชรา มรณ ะ โสกะปริเทวะทุกขโทมนัสอุปาย
จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุ
.
.
พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๖
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
หน้าที่ ๑๑/๒๘๘ ข้อที่ ๓๑-๓๗
..
http://etipitaka.com/read…#
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น