เจริญอานาปานสติ :
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกาย
ย่อมมีขึ้นไม่ได้
ครั้งหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ
ได้ทอดพระเนตร เห็นพระมหากัปปินะ
ผู้มีกายไม่โยกโคลง
แล้วได้ตรัสแก่
ภิกษุทั้งหลายว่า :-
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอเห็นความหวั่นไหว หรือ
ความโยกโคลงแห่งกายของมหากั
*
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
เวลาใดที่ข้าพระองค์ทั้งหลา
เห็นท่านผู้มีอายุนั่งในท่า
นั่งในที่ลับคนเดียวก็ดี
ในเวลานั้นๆ
ข้าพระองค์ทั้งหลายไม่ได้เห
หรือความโยกโคลงแห่งกาย
ของท่านผู้มีอายุรูปนั้นเลย
*
ภิกษุทั้งหลาย !
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกาย
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งจิต
มีขึ้นไม่ได้
เพราะการเจริญทำให้มากซึ่งส
*
ภิกษุมหากัปปินะนั้น
เป็นผู้ได้ตามปรารถนา
ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งสมาธินั้น.
*
ภิกษุทั้งหลาย !
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกาย
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งจิต
มีขึ้นไม่ได้
เพราะการเจริญทำให้มากซึ่งส
*
ภิกษุทั้งหลาย !
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกาย
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งจิต
ย่อมมีไม่ได้
เพราะการเจริญทำให้มากซึ่งอ
*
ภิกษุทั้งหลาย !
เมื่ออานาปานสติสมาธิ
อันบุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว อย่างไรเล่า
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกาย
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งจิต
จึงไม่มี ?
ภิกษุทั้งหลาย !
ในกรณีนี้ ภิกษุไปแล้วสู่ป่า หรือโคนไม้ หรือเรือนว่างก็ตาม
นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบ ตั้งกายตรง
ดำรงสติเฉพาะหน้า
เธอนั้น มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก :
เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว
เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว;
เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้
เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสั้น
*
ภิกษุทั้งหลาย !
เมื่ออานาปานสติสมาธิ
อันบุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกาย
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งจิต
ย่อมมีไม่ได้ ดังนี้.
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๙-๔๐๐/๑๓๒๒-๑๓๒๖.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น