วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558
live 20141114 2
***ชีวิตฆราวาส จะควบคุม กาย วาจา ใจ ให้สุจริต ได้อย่างไร?***
---------------------------------------------------------------------------------
https://www.youtube.com/watch?v=rZ4s_9eMwGQ&feature=youtu.be
#คลิปนี้ดีมากสำหรับการใช้ชีวิตของฆราวาสล้วนๆ
ฉันไม่ต้้องถือศีลหรอก ก็ดีแล้ว...อนุสติฐานที่หก #จิตอธิษฐานการงาน.#การละนันทิจิตเกาะกาย..สำหรับฆราวาส...#ยึดถือที่พึงที่ผิด ไหว้ศาล..ฯลฯ #ยังไม่พ้นวัฏสงสาร..ยังไม่ถูก
#จิตอธิษฐานการงาน
อานนท์ ! ฐานะที่ตั้งแห่งอนุสสติ มีเท่าไร ?
“มี ๕ อย่าง พระเจ้าข้า !”
ดีละ ดีละ อานนท์ !
ถ้าอย่างนั้น เธอจงทรงจำ ฐานะที่ตั้ง แห่งอนุสสติที่ ๖
นี้ไว้ คือ ภิกษุในกรณีนี้
มีสติก้าวไป
มีสติถอยกลับ
มีสติยืนอยู่
มีสตินั่งอยู่
มีสติสำเร็จการนอนอยู่
มีสติอธิษฐานการงาน
อานนท์ ! นี้เป็นฐานะที่ตั้งแห่งอนุสสติ ซึ่งเมื่อ
บุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อสติสัมปชัญญะ.
ฉกฺก. อํ. ๒๒/๓๖๓/๓๐๐.
------
#จิตออกนอกกรอบ...#ละนันทิ..#เอาจิตมาเกาะกาย..คือ ลมหายใจ..เป็นกายอันหนึ่งในกายทั้งหลาย
การละนันทิ (ความเพลิน)
เมื่อเห็นอยู่โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย
(สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ) ;
เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ
จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ
(นนฺทิกฺขยา ราคกฺขโย) ;
เพราะความสิ้นไปแห่งราคะ
จึงมีความสิ้นไปแห่งนันทิ
(ราคกฺขยา นนฺทิกฺขโย ) ;
เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิและราคะ
กล่าวได้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี” ดังนี้.
(นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺจติ).
(ในกรณีแห่งอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ คือ โสตะ ฆานะ
ชิวหา กายะ มโน และในกรณีแห่งอายตนะ ภายนอก ๖ คือ รูป เสียง
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณี แห่ง
จักษุ ทุกประการ.)
นันทิกขยวรรค สฬา.สํ. ๑๘ / ๑๗๙ / ๒๔๕-๖.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น