ภิกขุไม่นั่งในที่ลับกับมาตุคาม คือ อาสนะกำบัง
และการสำเร็จการนั่งผู้เดียวกับมาตุคามผู้เดียวในที่ลับ เป็นปาจิตตีย์
และในส่วนอนิยต ๒
คือ ภิกขุผู้เดียวสำเร็จการนั่งในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว
และ #มีอุบาสิกามีวาจาเชื่อถือได้โจทก์
ภิกขุนั้นได้ ๓ กรณี คือ ปาราชิก สังฆาทเสส หรือ ปาจิตตีย์
หรือหากภิกขุผู้เดียวนั่งในอาสนะที่ไม่กำบังกับมาตุคามผู้เดียว
แต่ พูดด้วยวาจาชั่วหยาบ และ
#อุบาสิกามีวาจาเชื่อถือได้โจทก์
ภิกขุนั้นได้ ๒ กรณี คือ สังฆาทิเสส หรือ ปาจิตตีย์
ซึ่งสิกขาบททั้งหลายที่ตรัสกล่าวนี้ จะไม่เกี่ยวด้วยเวลาใดเลย
และการสำเร็จการนั่งผู้เดียวกับมาตุคามผู้เดียวในที่ลับ เป็นปาจิตตีย์
และในส่วนอนิยต ๒
คือ ภิกขุผู้เดียวสำเร็จการนั่งในที่ลับกับมาตุคามผู้เดียว
และ #มีอุบาสิกามีวาจาเชื่อถือได้โจทก์
ภิกขุนั้นได้ ๓ กรณี คือ ปาราชิก สังฆาทเสส หรือ ปาจิตตีย์
หรือหากภิกขุผู้เดียวนั่งในอาสนะที่ไม่กำบังกับมาตุคามผู้เดียว
แต่ พูดด้วยวาจาชั่วหยาบ และ
#อุบาสิกามีวาจาเชื่อถือได้โจทก์
ภิกขุนั้นได้ ๒ กรณี คือ สังฆาทิเสส หรือ ปาจิตตีย์
ซึ่งสิกขาบททั้งหลายที่ตรัสกล่าวนี้ จะไม่เกี่ยวด้วยเวลาใดเลย
***********
******
******
ส่วนที่ 2 พระวินัยปิฎก เล่ม ๒ มหาวิภังค์ ทุติยภาค
เตรสกัณฑ์
อนิยตกัณฑ์
ท่านทั้งหลาย อนึ่ง ธรรมคืออนิยต ๒ สิกขาบทเหล่านี้แล มาสู่อุเทศ.
อนิยต สิกขาบทที่ ๑
#เรื่องพระอุทายีกับนางวิสาขา มิคารมาตา
[๖๓๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
ประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถ บิณฑิกคหบดี
เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นท่านพระอุทายี
เป็นพระประจำสกุลในพระนครสาวัตถี
เข้าไปหาสกุลเป็นอันมาก
สมัยนั้น สาวน้อยแห่งสกุลอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี
เป็นสตรีที่ มารดาบิดายกให้แก่หนุ่มน้อยของสกุลหนึ่ง
ครั้นเวลาเช้า ท่านพระอุทายีครองอันตรวาสกแล้ว
ถือบาตรและจีวรเข้าไปหาสกุลนั้น
ครั้นแล้วจึงไต่ถามพวกชาวบ้านว่า
สาวน้อยผู้มีชื่อนี้อยู่ไหน
พวกชาวบ้านตอบอย่างนี้ว่า
พวกข้าพเจ้าได้ยกให้แก่หนุ่มน้อยของสกุลโน้นแล้ว เจ้าข้า
แม้สกุลนั้นแล ก็เป็นอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี
จึงท่านพระอุทายีเข้าไปหาสกุลนั้น
ครั้นแล้วจึงถามพวกชาวบ้านว่า
สตรีผู้มีชื่อนี้ อยู่ไหน?
พวกชาวบ้านตอบว่า นางนั่งอยู่ในห้อง เจ้าข้า
จึงท่านพระอุทายีเข้าไปหาสาวน้อยนั้น
**************
**********
ครั้นแล้วสำเร็จการนั่งในที่ลับคือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับสาวน้อยนั้น
หนึ่งต่อหนึ่ง
เจรจากล่าวธรรมอยู่
ควรแก่เวลา.
*************
*****
[๖๓๒] ก็โดยสมัยนั้นแล นางวิสาขา มิคารมาตา
เป็นสตรีมีบุตรมาก
มีนัดดามาก
มีบุตรไม่มีโรค มีนัดดาไม่มีโรค
ซึ่งโลกสมมติว่าเป็นมิ่งมงคล
พวกชาวบ้านเชิญนางไปให้
รับประทานอาหารก่อนในงานบำเพ็ญกุศล
งานมงคล งานมหรสพ
ครั้งนั้น นางวิสาขา มิคารมาตา
ได้ถูกเชิญไปสู่สกุลนั้น นางได้เห็นพระอุทายี
นั่งในที่ลับคือในอาสนะกำบัง
ซึ่ง พอจะทำการได้กับหญิงสาวนั้น
หนึ่งต่อหนึ่ง
ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านพระอุทายีว่า
ข้าแต่ พระคุณเจ้า
การที่พระคุณเจ้าสำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับ มาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่งเช่นนี้
ไม่เหมาะ ไม่ควร
แม้พระคุณเจ้าจะไม่ต้องการด้วยธรรมนั้น ก็จริง
ถึงอย่างนั้น พวกชาวบ้านผู้ที่ไม่เลื่อมใส
จะบอกให้เชื่อได้โดยยาก
ท่านพระอุทายี แม้ถูกนางวิสาขา มิคารมาตา
ว่ากล่าวอยู่อย่างนี้ ก็มิได้เชื่อฟัง
เมื่อนางวิสาขา มิคารมาตา
กลับไปแล้ว ได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย
บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย
สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ
ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า
ไฉนท่านพระอุทายีจึงได้สำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือ ในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่งเล่า
แล้วกราบทูลเนื้อความนั้น
แด่พระผู้มีพระภาค
*************
*********
#ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์
ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ใน เพราะเหตุแรกเกิดนั้น
แล้วทรงสอบถามท่านพระอุทายีว่า
ดูกรอุทายี ข่าวว่า เธอสำเร็จการนั่ง
ในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่ง
จริงหรือ?
***************
**********
ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า
ดูกรโมฆบุรุษ
การกระทำของเธอนั้น ไม่เหมาะ ไม่สม
ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ
ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ
ดูกรโมฆบุรุษ
ไฉน เธอจึงได้ สำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่งเล่า
การกระทำของเธอนั่น
ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
หรือเพื่อความ เลื่อมใสยิ่ง ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว
โดยที่แท้การกระทำของเธอนั้น
เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใส ของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว
***************
**********
ครั้นพระผู้มีพระภาคทรงติเตียน
ท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยาย ดังนี้แล้ว
ตรัสโทษแห่ง ความเป็นคนเลี้ยงยาก
ความเป็นคนบำรุงยาก
ความเป็นคนมักมาก
ความเป็นคนไม่สันโดษ
ความคลุกคลี
ความเกียจคร้าน
**************
********
ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย
ความเป็นคนบำรุงง่าย
ความมักน้อย
ความสันโดษ
ความขัดเกลา
ความกำจัด
อาการที่น่าเลื่อมใส
การไม่สะสม การปรารภความเพียร
โดยอเนกปริยายแล้วทรงกระทำธรรมีกถา
ที่สมควรแก่เรื่องนั้น
ที่เหมาะสม แก่เรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย
แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
*************
*********
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เพราะเหตุนั้นแล
เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย
อาศัยอำนาจ ประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ
เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑
เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑
เพื่อ ข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑
เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑
เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิด ในปัจจุบัน ๑
เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑
เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่ เลื่อมใส ๑
เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใสแล้ว ๑
เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระ- *สัทธรรม ๑
เพื่อถือตามพระวินัย ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
************
******
#พระบัญญัติ
๑๙. ๑. อนึ่ง ภิกษุใดรูปเดียว
สำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือในอาสนะกำบัง
พอจะทำการได้กับมาตุคามผู้เดียว
*************
*****
อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้
เห็นภิกษุกันมาตุคาม นั้นนั่นแล้ว
พูดขึ้นด้วยธรรม ๓ ประการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง
คือด้วยปาราชิกก็ดี
ด้วย สังฆาทิเสสก็ดี
ด้วยปาจิตตีย์ก็ดี
************
**********
ภิกษุปฏิญาณซึ่งการนั่ง
พึงถูกปรับด้วยธรรม ๓ ประการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ
ด้วยปาราชิกบ้าง
ด้วยสังฆาทิเสสบ้าง
ด้วยปาจิตตีย์ บ้าง
อีกอย่างหนึ่ง
อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น
กล่าวด้วยธรรมใด
ภิกษุนั้นพึงถูกปรับ ด้วยธรรมนั้น
ธรรมนี้ชื่อ อนิยต.
************
********
ผู้โจทก์ประสงค์โจทผู้อื่น...ฆราวาส..โจทก์.พระ.ไม่ได้เลย..ในทุกกรณี
***********************
อัตตาทานวรรคที่ ๕
***********
*****
#หน้าที่ของโจทก์
*********
[๑๑๘๓] อุ. ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดธรรมเท่าไรไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น พระพุทธเจ้าข้า?
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดธรรม ๕ อย่างไว้ในตน
แล้วโจทผู้อื่น. ธรรม ๕ อย่าง อะไรบ้าง? คือ:
เตรสกัณฑ์
อนิยตกัณฑ์
ท่านทั้งหลาย อนึ่ง ธรรมคืออนิยต ๒ สิกขาบทเหล่านี้แล มาสู่อุเทศ.
อนิยต สิกขาบทที่ ๑
#เรื่องพระอุทายีกับนางวิสาขา มิคารมาตา
[๖๓๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
ประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถ บิณฑิกคหบดี
เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นท่านพระอุทายี
เป็นพระประจำสกุลในพระนครสาวัตถี
เข้าไปหาสกุลเป็นอันมาก
สมัยนั้น สาวน้อยแห่งสกุลอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี
เป็นสตรีที่ มารดาบิดายกให้แก่หนุ่มน้อยของสกุลหนึ่ง
ครั้นเวลาเช้า ท่านพระอุทายีครองอันตรวาสกแล้ว
ถือบาตรและจีวรเข้าไปหาสกุลนั้น
ครั้นแล้วจึงไต่ถามพวกชาวบ้านว่า
สาวน้อยผู้มีชื่อนี้อยู่ไหน
พวกชาวบ้านตอบอย่างนี้ว่า
พวกข้าพเจ้าได้ยกให้แก่หนุ่มน้อยของสกุลโน้นแล้ว เจ้าข้า
แม้สกุลนั้นแล ก็เป็นอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี
จึงท่านพระอุทายีเข้าไปหาสกุลนั้น
ครั้นแล้วจึงถามพวกชาวบ้านว่า
สตรีผู้มีชื่อนี้ อยู่ไหน?
พวกชาวบ้านตอบว่า นางนั่งอยู่ในห้อง เจ้าข้า
จึงท่านพระอุทายีเข้าไปหาสาวน้อยนั้น
**************
**********
ครั้นแล้วสำเร็จการนั่งในที่ลับคือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับสาวน้อยนั้น
หนึ่งต่อหนึ่ง
เจรจากล่าวธรรมอยู่
ควรแก่เวลา.
*************
*****
[๖๓๒] ก็โดยสมัยนั้นแล นางวิสาขา มิคารมาตา
เป็นสตรีมีบุตรมาก
มีนัดดามาก
มีบุตรไม่มีโรค มีนัดดาไม่มีโรค
ซึ่งโลกสมมติว่าเป็นมิ่งมงคล
พวกชาวบ้านเชิญนางไปให้
รับประทานอาหารก่อนในงานบำเพ็ญกุศล
งานมงคล งานมหรสพ
ครั้งนั้น นางวิสาขา มิคารมาตา
ได้ถูกเชิญไปสู่สกุลนั้น นางได้เห็นพระอุทายี
นั่งในที่ลับคือในอาสนะกำบัง
ซึ่ง พอจะทำการได้กับหญิงสาวนั้น
หนึ่งต่อหนึ่ง
ครั้นแล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านพระอุทายีว่า
ข้าแต่ พระคุณเจ้า
การที่พระคุณเจ้าสำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับ มาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่งเช่นนี้
ไม่เหมาะ ไม่ควร
แม้พระคุณเจ้าจะไม่ต้องการด้วยธรรมนั้น ก็จริง
ถึงอย่างนั้น พวกชาวบ้านผู้ที่ไม่เลื่อมใส
จะบอกให้เชื่อได้โดยยาก
ท่านพระอุทายี แม้ถูกนางวิสาขา มิคารมาตา
ว่ากล่าวอยู่อย่างนี้ ก็มิได้เชื่อฟัง
เมื่อนางวิสาขา มิคารมาตา
กลับไปแล้ว ได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย
บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย
สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ
ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า
ไฉนท่านพระอุทายีจึงได้สำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือ ในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่งเล่า
แล้วกราบทูลเนื้อความนั้น
แด่พระผู้มีพระภาค
*************
*********
#ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์
ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ใน เพราะเหตุแรกเกิดนั้น
แล้วทรงสอบถามท่านพระอุทายีว่า
ดูกรอุทายี ข่าวว่า เธอสำเร็จการนั่ง
ในที่ลับ คือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่ง
จริงหรือ?
***************
**********
ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า
ดูกรโมฆบุรุษ
การกระทำของเธอนั้น ไม่เหมาะ ไม่สม
ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ
ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ
ดูกรโมฆบุรุษ
ไฉน เธอจึงได้ สำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือในอาสนะกำบัง
ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม
หนึ่งต่อหนึ่งเล่า
การกระทำของเธอนั่น
ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
หรือเพื่อความ เลื่อมใสยิ่ง ของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว
โดยที่แท้การกระทำของเธอนั้น
เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใส ของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว
***************
**********
ครั้นพระผู้มีพระภาคทรงติเตียน
ท่านพระอุทายีโดยอเนกปริยาย ดังนี้แล้ว
ตรัสโทษแห่ง ความเป็นคนเลี้ยงยาก
ความเป็นคนบำรุงยาก
ความเป็นคนมักมาก
ความเป็นคนไม่สันโดษ
ความคลุกคลี
ความเกียจคร้าน
**************
********
ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย
ความเป็นคนบำรุงง่าย
ความมักน้อย
ความสันโดษ
ความขัดเกลา
ความกำจัด
อาการที่น่าเลื่อมใส
การไม่สะสม การปรารภความเพียร
โดยอเนกปริยายแล้วทรงกระทำธรรมีกถา
ที่สมควรแก่เรื่องนั้น
ที่เหมาะสม แก่เรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย
แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
*************
*********
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เพราะเหตุนั้นแล
เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย
อาศัยอำนาจ ประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ
เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑
เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑
เพื่อ ข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑
เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑
เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิด ในปัจจุบัน ๑
เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑
เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่ เลื่อมใส ๑
เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใสแล้ว ๑
เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระ- *สัทธรรม ๑
เพื่อถือตามพระวินัย ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
************
******
#พระบัญญัติ
๑๙. ๑. อนึ่ง ภิกษุใดรูปเดียว
สำเร็จการนั่งในที่ลับ
คือในอาสนะกำบัง
พอจะทำการได้กับมาตุคามผู้เดียว
*************
*****
อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้
เห็นภิกษุกันมาตุคาม นั้นนั่นแล้ว
พูดขึ้นด้วยธรรม ๓ ประการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง
คือด้วยปาราชิกก็ดี
ด้วย สังฆาทิเสสก็ดี
ด้วยปาจิตตีย์ก็ดี
************
**********
ภิกษุปฏิญาณซึ่งการนั่ง
พึงถูกปรับด้วยธรรม ๓ ประการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ
ด้วยปาราชิกบ้าง
ด้วยสังฆาทิเสสบ้าง
ด้วยปาจิตตีย์ บ้าง
อีกอย่างหนึ่ง
อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น
กล่าวด้วยธรรมใด
ภิกษุนั้นพึงถูกปรับ ด้วยธรรมนั้น
ธรรมนี้ชื่อ อนิยต.
************
********
ผู้โจทก์ประสงค์โจทผู้อื่น...ฆราวาส..โจทก์.พระ.ไม่ได้เลย..ในทุกกรณี
***********************
อัตตาทานวรรคที่ ๕
***********
*****
#หน้าที่ของโจทก์
*********
[๑๑๘๓] อุ. ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดธรรมเท่าไรไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น พระพุทธเจ้าข้า?
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดธรรม ๕ อย่างไว้ในตน
แล้วโจทผู้อื่น. ธรรม ๕ อย่าง อะไรบ้าง? คือ:
๑. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราเป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์หรือหนอ
เราเป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวนหรือ ธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
**********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
ไม่ใช่เป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวน จะมีผู้ว่ากล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านศึกษาความประพฤติทางกายก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
**********
๒. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราเป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์หรือหนอ
เราเป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวนหรือธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่?
*********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้ประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
ไม่ใช่เป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวน
จะมีผู้ว่ากล่าวต่อเธอว่า
เชิญทานศึกษาความประพฤติทางวาจาก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
*********
๓. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เมตตาจิต ไม่มีอาฆาต
เราเข้าไปตั้งไว้แล้วในหมู่เพื่อนสพรหมจารี
หรือธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
**********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ได้เข้าไปตั้งเมตตาจิต
ไม่มีอาฆาตในหมู่เพื่อนสพรหมจารี
จะมีผู้กล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านเข้าไปตั้งเมตตาจิตในหมู่เพื่อนสพรหมจารีก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้
************
๔. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราเป็นผู้มีสุตะมาก ทรงจำสุตะ สั่งสมสุตะหรือหนอ
ธรรมเหล่านั้นใด งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะ
บริสุทธิ์บริบูรณ์ สิ้นเชิง
ธรรมเห็นปานนั้นเราได้ฟังมาก
ทรงจำไว้คล่องปากขึ้นใจ
แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา
ธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
**********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้มีสุตะมาก
ทรงจำสุตะ สั่งสมสุตะ
ธรรมเหล่านั้นใด งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
ประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ
บริสุทธิ์บริบูรณ์ สิ้นเชิง ธรรมเห็นปานนั้น
เธอหาได้ฟังมาก ทรงจำไว้คล่องปากขึ้นใจ
แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญาไม่
จะมีผู้กล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านเรียนคัมภีร์ก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
*********
๕. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดี
โดยพิสดาร สวดไพเราะคล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อย
โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะหรือ
ธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
*********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้จำปาติโมกข์ทั้งสอง
โดยพิสดาร สวดไพเราะคล่องแคล่วดี
วินิจฉัยเรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ
ไม่ได้ มีผู้ถามว่า ท่าน สิกขาบทนี้
*********
พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ที่ไหน
เธอถูกถามดังนี้ ย่อมตอบไม่ถูกต้อง
จะมีผู้ว่ากล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านเรียนวินัยก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
*********
ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์โจทผู้อื่น
พึงกำหนดธรรม ๕ อย่างนี้ไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่นเถิด.
*********
#หน้าที่ของโจทก์อีกนัยหนึ่ง
[๑๑๘๔] อุ. ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงตั้งธรรมเท่าไรไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น พระพุทธเจ้าข้า?
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงตั้งธรรม ๕ อย่างไว้ในตนแล้วโจทผู้อื่น.
ธรรม ๕ อย่างอะไรบ้าง? คือ:
๑. เราจักพูดโดยกาลอันควร จักไม่พูดโดยกาลไม่ควร
๒. เราจักพูดด้วยคำจริง จักไม่พูดด้วยคำเท็จ
๓. เราจักพูดด้วยคำสุภาพ จักไม่พูดด้วยคำหยาบ
๔. เราจักพูดด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์ จักไม่พูดด้วยคำไม่ประกอบด้วยประโยชน์
๕. เราจักมีเมตตาจิตพูด จักไม่มุ่งร้ายพูด
********
ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงตั้งธรรม ๕ อย่างนี้ไว้ในตนแล้วโจทผู้อื่นเถิด.
********
#โจทก์ควรใฝ่ใจถึงธรรม
[๑๑๘๕] อุ. ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงมนสิการธรรมเท่าไรไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น พระพุทธเจ้า?
********
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงมนสิการธรรม ๕ อย่างไว้ในตนแล้วโจทผู้อื่น.
ธรรม ๕ อย่าง อะไรบ้าง? คือ:
๑. ความการุญ
๒. ความหวังประโยชน์
๓. ความเอ็นดู
๔. ความออกจากอาบัติ
๕. ความทำวินัยเป็นเบื้องต้น
ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงมนสิการธรรม ๕ อย่างนี้ไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น.
******
#องค์ของภิกษุผู้ไม่ควรให้ทำโอกาส
[๑๑๘๖] อุ. ภิกษุประกอบด้วยองค์เท่าไรหนอแล
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ไม่ควรทำโอกาส พระพุทธเจ้าข้า?
******
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ไม่ควรทำโอกาส.
องค์ ๕ อะไรบ้าง? คือ:
๑. เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์
๒. เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์
๓. เป็นผู้มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์
๔. เป็นผู้เขลา ไม่ฉลาด
๕. ถูกซักเข้า ไม่อาจให้คำตอบข้อที่ซัก
ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ไม่ควรทำโอกาส.
*****
#องค์ของภิกษุผู้ควรให้ทำโอกาส
ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ควรทำโอกาส. องค์ ๕ อะไรบ้าง? คือ:
๑. เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
๒. เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
๓. เป็นผู้มีอาชีวะบริสุทธิ์
๔. เป็นบัณฑิต ผู้ฉลาด
๕. ถูกซักเข้า อาจให้คำตอบข้อที่ซัก
ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล
ขอให้ทำโอกาส. สงฆ์ควรทำโอกาส.
*****
- ฉบับหลวง ๘/๔๒๙-๔๓๒/๑๑๘๓-๖
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราเป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์หรือหนอ
เราเป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวนหรือ ธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
**********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
ไม่ใช่เป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวน จะมีผู้ว่ากล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านศึกษาความประพฤติทางกายก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
**********
๒. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราเป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์หรือหนอ
เราเป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวนหรือธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่?
*********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้ประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
ไม่ใช่เป็นผู้ประกอบด้วยความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
ไม่มีช่อง ไม่มีข้อสอบสวน
จะมีผู้ว่ากล่าวต่อเธอว่า
เชิญทานศึกษาความประพฤติทางวาจาก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
*********
๓. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เมตตาจิต ไม่มีอาฆาต
เราเข้าไปตั้งไว้แล้วในหมู่เพื่อนสพรหมจารี
หรือธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
**********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ได้เข้าไปตั้งเมตตาจิต
ไม่มีอาฆาตในหมู่เพื่อนสพรหมจารี
จะมีผู้กล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านเข้าไปตั้งเมตตาจิตในหมู่เพื่อนสพรหมจารีก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้
************
๔. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราเป็นผู้มีสุตะมาก ทรงจำสุตะ สั่งสมสุตะหรือหนอ
ธรรมเหล่านั้นใด งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะ
บริสุทธิ์บริบูรณ์ สิ้นเชิง
ธรรมเห็นปานนั้นเราได้ฟังมาก
ทรงจำไว้คล่องปากขึ้นใจ
แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา
ธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
**********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้มีสุตะมาก
ทรงจำสุตะ สั่งสมสุตะ
ธรรมเหล่านั้นใด งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
ประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ
บริสุทธิ์บริบูรณ์ สิ้นเชิง ธรรมเห็นปานนั้น
เธอหาได้ฟังมาก ทรงจำไว้คล่องปากขึ้นใจ
แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญาไม่
จะมีผู้กล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านเรียนคัมภีร์ก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
*********
๕. ดูกรอุบาลี อนึ่ง ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงกำหนดอย่างนี้ว่า
เราจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดี
โดยพิสดาร สวดไพเราะคล่องแคล่วดี วินิจฉัยเรียบร้อย
โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะหรือ
ธรรมนั้นของเรามีอยู่หรือไม่มี?
*********
ดูกรอุบาลี ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้จำปาติโมกข์ทั้งสอง
โดยพิสดาร สวดไพเราะคล่องแคล่วดี
วินิจฉัยเรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ
ไม่ได้ มีผู้ถามว่า ท่าน สิกขาบทนี้
*********
พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ที่ไหน
เธอถูกถามดังนี้ ย่อมตอบไม่ถูกต้อง
จะมีผู้ว่ากล่าวต่อเธอว่า
เชิญท่านเรียนวินัยก่อน
จะมีคนว่ากล่าวต่อเธอดังนี้.
*********
ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์โจทผู้อื่น
พึงกำหนดธรรม ๕ อย่างนี้ไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่นเถิด.
*********
#หน้าที่ของโจทก์อีกนัยหนึ่ง
[๑๑๘๔] อุ. ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงตั้งธรรมเท่าไรไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น พระพุทธเจ้าข้า?
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงตั้งธรรม ๕ อย่างไว้ในตนแล้วโจทผู้อื่น.
ธรรม ๕ อย่างอะไรบ้าง? คือ:
๑. เราจักพูดโดยกาลอันควร จักไม่พูดโดยกาลไม่ควร
๒. เราจักพูดด้วยคำจริง จักไม่พูดด้วยคำเท็จ
๓. เราจักพูดด้วยคำสุภาพ จักไม่พูดด้วยคำหยาบ
๔. เราจักพูดด้วยคำประกอบด้วยประโยชน์ จักไม่พูดด้วยคำไม่ประกอบด้วยประโยชน์
๕. เราจักมีเมตตาจิตพูด จักไม่มุ่งร้ายพูด
********
ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงตั้งธรรม ๕ อย่างนี้ไว้ในตนแล้วโจทผู้อื่นเถิด.
********
#โจทก์ควรใฝ่ใจถึงธรรม
[๑๑๘๕] อุ. ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงมนสิการธรรมเท่าไรไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น พระพุทธเจ้า?
********
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงมนสิการธรรม ๕ อย่างไว้ในตนแล้วโจทผู้อื่น.
ธรรม ๕ อย่าง อะไรบ้าง? คือ:
๑. ความการุญ
๒. ความหวังประโยชน์
๓. ความเอ็นดู
๔. ความออกจากอาบัติ
๕. ความทำวินัยเป็นเบื้องต้น
ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้โจทก์ประสงค์จะโจทผู้อื่น
พึงมนสิการธรรม ๕ อย่างนี้ไว้ในตน แล้วโจทผู้อื่น.
******
#องค์ของภิกษุผู้ไม่ควรให้ทำโอกาส
[๑๑๘๖] อุ. ภิกษุประกอบด้วยองค์เท่าไรหนอแล
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ไม่ควรทำโอกาส พระพุทธเจ้าข้า?
******
พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ไม่ควรทำโอกาส.
องค์ ๕ อะไรบ้าง? คือ:
๑. เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์
๒. เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์
๓. เป็นผู้มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์
๔. เป็นผู้เขลา ไม่ฉลาด
๕. ถูกซักเข้า ไม่อาจให้คำตอบข้อที่ซัก
ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ไม่ควรทำโอกาส.
*****
#องค์ของภิกษุผู้ควรให้ทำโอกาส
ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕
ขอให้ทำโอกาส สงฆ์ควรทำโอกาส. องค์ ๕ อะไรบ้าง? คือ:
๑. เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
๒. เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
๓. เป็นผู้มีอาชีวะบริสุทธิ์
๔. เป็นบัณฑิต ผู้ฉลาด
๕. ถูกซักเข้า อาจให้คำตอบข้อที่ซัก
ดูกรอุบาลี ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล
ขอให้ทำโอกาส. สงฆ์ควรทำโอกาส.
*****
- ฉบับหลวง ๘/๔๒๙-๔๓๒/๑๑๘๓-๖
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น