คลิปนี้ลึกมาก(เก็บไว้ดูซ้ำๆ)..ผู้ใดเห็นปฏิจฯ ผู้นั้นเห็นธรรม..
ผู้ใดเห็นธรรม ..ผู้นั้นเห็นเราตถาคต
สาธุๆๆ คะ พระอาจารย์แจกแจงได้..ละเอียด..ลึกซึ่งมาก..แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า
ประมาณนาทีที่ 8.30..https://www.youtube.com/watch?v=keScfxx7Q0M
มีสิ่งๆ หนึ่ง มา หลงยึด ขันธ์๕ เรียกว่า สัตว์
สัตว์=ส่ิงๆ หนึ่ง + ขันธ์๕
พระสูตรที่สอดรับกัน(บางส่วน พระอาจารย์โยงพระสูตรเป็นร้อย)
-สิ่งๆ หนึ่ง
-สัตว์
-ปัญจขันธสูตร
--
#สิ่ง #สิ่งหนึ่ง
ภิกษุ ! ในปัญหานั้น คำตอบมีดังนี้:“สิ่ง” สิ่งหนึ่ง
ซึ่งบุคคลพึงรู้แจ้ง
เป็นสิ่งที่ไม่มีปรากฏการณ์ไม่มีที่สุด
แต่มีทางปฏิบัติเข้ามาถึงได้โดยรอบ,นั้นมีอยู่.
ใน “สิ่ง”นั้นแหละ ดิน น้ำ ไฟ ลม ไม่หยั่งลงได้. ใน “สิ่ง”
นั้นแหละความยาว ความสั้น ความเล็ก ความใหญ่ ความงาม ความไม่งาม
ไม่หยั่งลงได้. ใน “สิ่ง” นั้นแหละ นามรูปย่อมดับสนิท ไม่มีเศษเหลือ.
นามรูป ดับสนิทใน “สิ่ง” นี้ เพราะการดับสนิทของวิญญาณ, ดังนี้”.
ผู้ใดเห็นธรรม ..ผู้นั้นเห็นเราตถาคต
สาธุๆๆ คะ พระอาจารย์แจกแจงได้..ละเอียด..ลึกซึ่งมาก..แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า
ประมาณนาทีที่ 8.30..https://www.youtube.com/watch?v=keScfxx7Q0M
มีสิ่งๆ หนึ่ง มา หลงยึด ขันธ์๕ เรียกว่า สัตว์
สัตว์=ส่ิงๆ หนึ่ง + ขันธ์๕
พระสูตรที่สอดรับกัน(บางส่วน พระอาจารย์โยงพระสูตรเป็นร้อย)
-สิ่งๆ หนึ่ง
-สัตว์
-ปัญจขันธสูตร
--
#สิ่ง #สิ่งหนึ่ง
ภิกษุ ! ในปัญหานั้น คำตอบมีดังนี้:“สิ่ง” สิ่งหนึ่ง
ซึ่งบุคคลพึงรู้แจ้ง
เป็นสิ่งที่ไม่มีปรากฏการณ์ไม่มีที่สุด
แต่มีทางปฏิบัติเข้ามาถึงได้โดยรอบ,นั้นมีอยู่.
ใน “สิ่ง”นั้นแหละ ดิน น้ำ ไฟ ลม ไม่หยั่งลงได้. ใน “สิ่ง”
นั้นแหละความยาว ความสั้น ความเล็ก ความใหญ่ ความงาม ความไม่งาม
ไม่หยั่งลงได้. ใน “สิ่ง” นั้นแหละ นามรูปย่อมดับสนิท ไม่มีเศษเหลือ.
นามรูป ดับสนิทใน “สิ่ง” นี้ เพราะการดับสนิทของวิญญาณ, ดังนี้”.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ที่เรียกกันว่า ‘สัตว์ สัตว์’ ดังนี้,
อันว่าสัตว์มีได้ ด้วยเหตุเพียงไรเล่า พระเจ้าข้า
ราธะ !
ฉันทะ (ความพอใจ)
ราคะ (ความกําหนัด)
นันทิ (ความเพลิน)
ตัณหา (ความอยาก)
ใดๆ มีอยูใน
#รูป เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในรูปนั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” (ผู้ข้องติดในขันธ์ทั้ง ๕) ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยูใน
#เวทนา (ความรู้สึกสุข ทุกข์และไม่สุขไม่ทุกข์)
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในเวทนานั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยู่ใน
#สัญญา (ความหมายรู้)
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในสัญญานั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยู่ใน
#สังขารทั้งหลาย (ความปรุงแต่ง)
เพราะการติดแล้ว
ข้องแล้วในสังขารทั้งหลายนั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยูใน
#วิญญาณ
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในวิญญาณนั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา “สัตว์” ดังนี้แล.
พุทธวจน ภพภูมิ หน้า ๒๓.
(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๑/๓๖๗.
---
#ขันธ์๕
#อุปาทานขันธ์๕
#ที่ตั้้งแห่งอุปาทานขันธ์๕
#อุปาทานขันธสูตร
[๒๗๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการ เป็นไฉน คือ รูปูปาทานักขันธ์ ๑ เวทนูปาทานักขันธ์ ๑ สัญญูปาทานักขันธ์ ๑ สังขารูปาทานักขันธ์ ๑ วิญญาณูปาทานักขันธ์ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้แล ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ เพื่อละ อุปาทานักขันธ์ ๕ ประการนี้แล ฯ
(พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓)
--------------------
พุทธพจน์ #แสดงขันธ์ ๕ #และอุปาทานขันธ์ ๕
ปัญจขันธสูตร
[๙๕] ....."ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงขันธ์ ๕ และอุปาทานขันธ์ ๕ เธอทั้งหลายจงฟัง"
"ขันธ์ ๕ เป็นไฉน ? รูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ อันใดอันหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม ทรามก็ตาม ประณีตก็ตาม ไกลหรือใกล้ก็ตาม เหล่านี้ เรียกว่า ขันธ์ ๕".....
[๙๖] ....."อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นไฉน ? รูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ อันใดอันหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม ทรามก็ตาม ประณีตก็ตาม ไกลหรือใกล้ก็ตาม ที่ประกอบด้วยอาสวะ เป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน(หรือถูกอุปาทานครอบงำในปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง)...เหล่านี้ เรียกว่า อุปาทานขันธ์ ๕"....
(สํ.ข. ๑๗ / ๙๕-๙๖ /๕๘-๖๐)
--------------------------
"ภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงธรรมทั้งหลายซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
และตัวอุปาทาน เธอทั้งหลายจงฟัง.
"รูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ คือ ธรรม(สิ่ง)อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน (ส่วน)ฉันทราคะ(ก็คือตัณหา) ในรูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ นั้นคือ อุปาทานในสิ่งนั้นๆ"
(ฉันทะราคะ คือความชอบใจจนติด หรืออยากอย่างแรงจนยึดติด กล่าวคือตัณหา จึงเป็นเหตุปัจจัยจึงมีอุปาทานครอบงำ)
(สํ.ข. ๑๗ / ๓๐๙ / ๒๐๒)
http://etipitaka.com/read/thai/17/47/…
อันว่าสัตว์มีได้ ด้วยเหตุเพียงไรเล่า พระเจ้าข้า
ราธะ !
ฉันทะ (ความพอใจ)
ราคะ (ความกําหนัด)
นันทิ (ความเพลิน)
ตัณหา (ความอยาก)
ใดๆ มีอยูใน
#รูป เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในรูปนั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” (ผู้ข้องติดในขันธ์ทั้ง ๕) ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยูใน
#เวทนา (ความรู้สึกสุข ทุกข์และไม่สุขไม่ทุกข์)
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในเวทนานั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยู่ใน
#สัญญา (ความหมายรู้)
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในสัญญานั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยู่ใน
#สังขารทั้งหลาย (ความปรุงแต่ง)
เพราะการติดแล้ว
ข้องแล้วในสังขารทั้งหลายนั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า “สัตว์” ดังนี้.
ราธะ !
ฉันทะ
ราคะ
นันทิ
ตัณหา
ใดๆ มีอยูใน
#วิญญาณ
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในวิญญาณนั้น
เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา “สัตว์” ดังนี้แล.
พุทธวจน ภพภูมิ หน้า ๒๓.
(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๑/๓๖๗.
---
#ขันธ์๕
#อุปาทานขันธ์๕
#ที่ตั้้งแห่งอุปาทานขันธ์๕
#อุปาทานขันธสูตร
[๒๗๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการ เป็นไฉน คือ รูปูปาทานักขันธ์ ๑ เวทนูปาทานักขันธ์ ๑ สัญญูปาทานักขันธ์ ๑ สังขารูปาทานักขันธ์ ๑ วิญญาณูปาทานักขันธ์ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้แล ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ เพื่อละ อุปาทานักขันธ์ ๕ ประการนี้แล ฯ
(พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓)
--------------------
พุทธพจน์ #แสดงขันธ์ ๕ #และอุปาทานขันธ์ ๕
ปัญจขันธสูตร
[๙๕] ....."ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงขันธ์ ๕ และอุปาทานขันธ์ ๕ เธอทั้งหลายจงฟัง"
"ขันธ์ ๕ เป็นไฉน ? รูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ อันใดอันหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม ทรามก็ตาม ประณีตก็ตาม ไกลหรือใกล้ก็ตาม เหล่านี้ เรียกว่า ขันธ์ ๕".....
[๙๖] ....."อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นไฉน ? รูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ อันใดอันหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม ทรามก็ตาม ประณีตก็ตาม ไกลหรือใกล้ก็ตาม ที่ประกอบด้วยอาสวะ เป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน(หรือถูกอุปาทานครอบงำในปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง)...เหล่านี้ เรียกว่า อุปาทานขันธ์ ๕"....
(สํ.ข. ๑๗ / ๙๕-๙๖ /๕๘-๖๐)
--------------------------
"ภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงธรรมทั้งหลายซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
และตัวอุปาทาน เธอทั้งหลายจงฟัง.
"รูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ คือ ธรรม(สิ่ง)อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน (ส่วน)ฉันทราคะ(ก็คือตัณหา) ในรูป...เวทนา..สัญญา...สังขาร...วิญญาณ นั้นคือ อุปาทานในสิ่งนั้นๆ"
(ฉันทะราคะ คือความชอบใจจนติด หรืออยากอย่างแรงจนยึดติด กล่าวคือตัณหา จึงเป็นเหตุปัจจัยจึงมีอุปาทานครอบงำ)
(สํ.ข. ๑๗ / ๓๐๙ / ๒๐๒)
http://etipitaka.com/read/thai/17/47/…
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น