***ภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม ่ได้ (อมาตาปุตฺติกภย)***
************************** *************************
ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไ ม่ได้
(โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่สามอย่าง คือ
ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ)
ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ)
ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ)
ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากับบุ ตรผู้แก่
อยู่อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย; หรือ
บุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมา รดาผู้แก่อยู่อย่างนี้ว่า
เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้.
มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไข้เองเถิด
มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนา
ว่า เราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย ดังนี้.
มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด
บุตรของเราอย่าตายเลย; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนา
ว่าเราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย ดังนี้.
ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล เป็นภัยที่มารดาและบุตร
ช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง.
ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไป
เพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็นสมาตาปุต ติกภัย
และอมาตาปุตติกภัยอย่างละสา ม ๆ เหล่านั้น.
ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรค (อริยมรรคมีองค์ ๘)
นั่นเอง ได้แก่
สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) สัมมาสังกัปปะ(ดำริชอบ)
สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (การทำการงานชอบ)
สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ) สัมมาวายามะ (เพียรชอบ)
สัมมาสติ (ระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมั่นชอบ).
ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา
เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็นสมาตาปุต ติกภัย
และอมาตาปุตติกภัยอย่างละสา ม ๆ เหล่านั้น.
ติก. อํ. ๒๐/๒๒๘ - ๒๓๑/๕๐๒.
— กับ Maki Pijika, ตักสิลา ล่องไพร และ ฟ้า ฟ้า
**************************
ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไ
(โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่สามอย่าง คือ
ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ)
ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ)
ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ)
ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากับบุ
อยู่อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย; หรือ
บุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมา
เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้.
มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า
มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย;
ว่า เราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย ดังนี้.
มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า
บุตรของเราอย่าตายเลย; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนา
ว่าเราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย ดังนี้.
ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล เป็นภัยที่มารดาและบุตร
ช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง.
ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไป
เพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็นสมาตาปุต
และอมาตาปุตติกภัยอย่างละสา
ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรค (อริยมรรคมีองค์ ๘)
นั่นเอง ได้แก่
สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) สัมมาสังกัปปะ(ดำริชอบ)
สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (การทำการงานชอบ)
สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ) สัมมาวายามะ (เพียรชอบ)
สัมมาสติ (ระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมั่นชอบ).
ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา
เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็นสมาตาปุต
และอมาตาปุตติกภัยอย่างละสา
ติก. อํ. ๒๐/๒๒๘ - ๒๓๑/๕๐๒.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น