***กฎ อิทัปปัจจยตา ซึ่งแปลว่า ธรรมชาติที่อาศัยกันละกันเก ิดขึ้น***
************************** ************************** *******************
อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ ... เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี
อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ ... เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ ...เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี
อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ ...เพราะสิ่งนี้ดับไป สิ่งนี้ก็ดับ
นี่ึคือ กฎของ อิทัปปัจจยตา ซึ่งแปลว่า ธรรมชาติที่อาศัยกันละกันเก ิดขึ้น
และธรรมชาติของจิตนี้มีอยู่ ในตัวของคนทุกคนในโลกธาตุ พิสูจน์ได้วันนี้เวลานี้ เป็น ปัจจัตตัง (รู้เฉพาะตน) เป็นสิกขีภูโต เอาตนเองเป็นพยานของตน
ไม่ต้องเชื่อจากการฟังหรือบ อกเล่ากันมา ....
***ว่าด้วยอิทัปปัจจยตา***
**************************
สมจริงตามที่พระผู้มีพระภาค ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
กายนี้ไม่ใช่ของท่านทั้งหลา ย
ทั้งไม่ใช่ของคนเหล่าอื่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย
กายนี้ อันกรรมเก่าควบคุมแล้ว อันจิตประมวลเข้าแล้ว
ท่านทั้งหลายพึงเห็นว่าเป็น ที่ตั้งแห่งเวทนา ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อริยสาวกผู้ได้สดับแล้วย่อม มนสิการถึงปฏิจจสมุปบาท
นั่นแหละโดยแยบคายเป็นอย่าง ดีในกายนั้นว่า
เพราะเหตุนี้ๆ
เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ก็มี
เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้ก็เกิดขึ้น
เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี
เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้ก็ดับ
กล่าวคือ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมี สังขารหลาย
เพราะสังขารเป็นปัจจัยจึงมี วิญญาณ ฯลฯ
ความเกิดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ ้นนั้น
ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้
เพราะอวิชชานั้นแลดับด้วย
สามารถความสำรอกโดยไม่เหลือ
สังขารจึงดับ ฯลฯ
ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้ นนั้น ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้
แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ดังนี้ จึงชื่อว่า
ความกังวลอะไรๆ ว่า
สิ่งนี้ของเรา หรือว่าสิ่งนี้ของคนเหล่าอื ่น ย่อมไม่มีแก่ผู้ใด.
และสมจริงตามที่พระผู้มีพระ ภาคตรัสว่า
ดูกรโมฆราช ท่านจงมีสติพิจารณาเห็นโลกโ ดยความเป็นของสูญ
ถอนอัตตานุทิฏฐิเสียแล้ว
พึงเป็นผู้ข้ามพ้นมัจจุได้ด ้วยอาการอย่างนี้
มัจจุราชย่อมไม่เห็นบุคคลผู ้พิจารณาเห็นโลกอย่างนี้.
แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ จึงชื่อว่า
ความกังวลอะไรๆ ...
ย่อมไม่มีแก่ผู้ใด.
และสมจริงตามที่พระผู้มีพระ ภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
สิ่งใดไม่ใช่ของท่านทั้งหลา ย
ท่านทั้งหลายจงละสิ่งนั้นเส ียเถิด
สิ่งนั้นที่ท่านทั้งหลายละเ สียแล้ว
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข ตลอดกาลนาน.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งอะไรไม่ใช่ของท่านทั้ งหลาย
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
รูป
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจงละรูปเสียเถิ ด
รูปนั้นที่ท่านทั้งหลายละเส ียแล้ว
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข
ตลอดกาลนาน
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย
ท่านทั้งหลาย จงละวิญญาณนั้นเสียเถิด
วิญญาณนั้นที่ท่านทั้งหลายล ะเสียแล้ว
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข ตลอดกาลนาน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจะสำคัญความข้อ นั้นเป็นไฉน?
หญ้า ไม้ กิ่งไม้และใบไม้ในวิหารเชตว ันนี้คนพึงนำไป
เผาเสีย หรือว่าทำตามปัจจัย
ท่านทั้งหลายพึงมีความดำริอ ย่างนี้หรือว่า
คนย่อมนำไปเผาเสีย ซึ่งเราทั้งหลาย หรือทำตามปัจจัย.
ความดำรินั้นไม่มีเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เพราะเหตุว่า
สิ่งนั้นไม่ใช่ตนหรือของเนื ่องด้วยตนแห่งข้าพระองค์ทั้ งหลาย
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดไม่ใช่ของท่านทั้งหลา ย
ท่านทั้งหลายจงละสิ่งนั้นเส ียเถิด
สิ่งนั้นที่ท่านทั้งหลายละเ สียแล้ว
จักมีเพื่อประโยชน์
เพื่อสุข
ตลอดกาลนาน ฉันนั้นแล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งอะไรไม่ใช่ของท่านทั้ งหลาย
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
รูป
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย ...
วิญญาณ
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจงละวิญญาณนั้น เสียเถิด
วิญญาณนั้นท่านทั้งหลายละเส ียแล้ว
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข ตลอดกาลนาน แม้ด้วยเหตุ
อย่างนี้ จึงชื่อว่า
ความกังวลอะไรๆ ... ย่อมไม่มีแก่ผู้ใด.
พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส
หน้าที่ ๔๑๘/๔๙๔ ข้อที่ ๘๖๔-๘๖๕
http://etipitaka.com/ read?keywords=อิทัปปัจจยตา& language=thai&number=418&v olume=29#
อัญเชิญภาพพระสูตรโดย Oura Rsp
— กับ ตักสิลา ล่องไพร และ ฟ้า ฟ้า
**************************
อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ ... เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี
อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ ... เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ ...เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี
อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ ...เพราะสิ่งนี้ดับไป สิ่งนี้ก็ดับ
นี่ึคือ กฎของ อิทัปปัจจยตา ซึ่งแปลว่า ธรรมชาติที่อาศัยกันละกันเก
และธรรมชาติของจิตนี้มีอยู่
ไม่ต้องเชื่อจากการฟังหรือบ
***ว่าด้วยอิทัปปัจจยตา***
**************************
สมจริงตามที่พระผู้มีพระภาค
กายนี้ไม่ใช่ของท่านทั้งหลา
ทั้งไม่ใช่ของคนเหล่าอื่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย
กายนี้ อันกรรมเก่าควบคุมแล้ว อันจิตประมวลเข้าแล้ว
ท่านทั้งหลายพึงเห็นว่าเป็น
อริยสาวกผู้ได้สดับแล้วย่อม
นั่นแหละโดยแยบคายเป็นอย่าง
เพราะเหตุนี้ๆ
เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ก็มี
เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้ก็เกิดขึ้น
เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี
เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้ก็ดับ
กล่าวคือ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัยจึงมี
ความเกิดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ
ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้
เพราะอวิชชานั้นแลดับด้วย
สามารถความสำรอกโดยไม่เหลือ
สังขารจึงดับ ฯลฯ
ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้
แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ดังนี้ จึงชื่อว่า
ความกังวลอะไรๆ ว่า
สิ่งนี้ของเรา หรือว่าสิ่งนี้ของคนเหล่าอื
และสมจริงตามที่พระผู้มีพระ
ดูกรโมฆราช ท่านจงมีสติพิจารณาเห็นโลกโ
ถอนอัตตานุทิฏฐิเสียแล้ว
พึงเป็นผู้ข้ามพ้นมัจจุได้ด
มัจจุราชย่อมไม่เห็นบุคคลผู
แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ จึงชื่อว่า
ความกังวลอะไรๆ ...
ย่อมไม่มีแก่ผู้ใด.
และสมจริงตามที่พระผู้มีพระ
สิ่งใดไม่ใช่ของท่านทั้งหลา
ท่านทั้งหลายจงละสิ่งนั้นเส
สิ่งนั้นที่ท่านทั้งหลายละเ
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งอะไรไม่ใช่ของท่านทั้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
รูป
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจงละรูปเสียเถิ
รูปนั้นที่ท่านทั้งหลายละเส
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข
ตลอดกาลนาน
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย
ท่านทั้งหลาย จงละวิญญาณนั้นเสียเถิด
วิญญาณนั้นที่ท่านทั้งหลายล
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจะสำคัญความข้อ
หญ้า ไม้ กิ่งไม้และใบไม้ในวิหารเชตว
เผาเสีย หรือว่าทำตามปัจจัย
ท่านทั้งหลายพึงมีความดำริอ
คนย่อมนำไปเผาเสีย ซึ่งเราทั้งหลาย หรือทำตามปัจจัย.
ความดำรินั้นไม่มีเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เพราะเหตุว่า
สิ่งนั้นไม่ใช่ตนหรือของเนื
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดไม่ใช่ของท่านทั้งหลา
ท่านทั้งหลายจงละสิ่งนั้นเส
สิ่งนั้นที่ท่านทั้งหลายละเ
จักมีเพื่อประโยชน์
เพื่อสุข
ตลอดกาลนาน ฉันนั้นแล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งอะไรไม่ใช่ของท่านทั้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
รูป
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย ...
วิญญาณ
ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจงละวิญญาณนั้น
วิญญาณนั้นท่านทั้งหลายละเส
จักมีเพื่อประโยชน์เพื่อสุข
อย่างนี้ จึงชื่อว่า
ความกังวลอะไรๆ ... ย่อมไม่มีแก่ผู้ใด.
พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส
หน้าที่ ๔๑๘/๔๙๔ ข้อที่ ๘๖๔-๘๖๕
http://etipitaka.com/
อัญเชิญภาพพระสูตรโดย Oura Rsp
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น