***ว่าด้วยการกราบไหว้ผู้คว รกราบไหว้***
************************** ***********
วันทนาสูตร
[๕๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย การไหว้ ๓ อย่างนี้
๓ อย่างเป็นไฉน คือ
ไหว้ทางกาย ๑
ไหว้ทางวาจา ๑
ไหว้ทางใจ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย การไหว้๓ อย่างนี้แล ฯ
[๙๓๗] ท่านมีรูปงาม ประนมมือนอบน้อมสมณะผู้มีรู ปร่างไม่น่าดู สมณะนั้น
ประเสริฐกว่าท่าน หรือว่าเสมอกับท่าน ท่านจงบอกชื่อสมณะนั้นและ
ชื่อของตนแก่เรา.
[๙๓๘] ข้าแต่พระราชา เทวดาทั้งหลาย ย่อมไม่ถือเอานามและโคตรของ
พระขีณาสพผู้พร้อมเพรียงกัน ผู้ปฏิบัติตรงๆ ก็แต่ว่า หม่อมฉันจะบอก
ชื่อของหม่อมฉันแก่พระองค์ หม่อมฉันเป็นท้าวสักกะจอมเท พชาว
ไตรทศทั้งหลาย.
[๙๓๙] ข้าแต่เทวราช หม่อมฉันขอถามเนื้อความนี้ก ะพระองค์ ผู้ใด เห็นภิกษุ
ผู้ประกอบด้วยจรณะแล้วประนม มือนอบน้อม ผู้นั้น จุติจากมนุษยโลกนี้
ไปแล้ว จะได้ความสุขอะไร?
[๙๔๐] ผู้ใด เห็นภิกษุผู้ประกอบด้วยจรณะ แล้ว ประนมมือนอบน้อม
ผู้นั้น ย่อมได้ความสรรเสริญในปัจจุ บัน และเมื่อตายไปแล้ว ย่อม
ไปสวรรค์.
[๙๔๑] ปัญญารู้ผลแห่งกุศล และอกุศลเกิดขึ้นแก่หม่อมฉั นในวันนี้ หม่อมฉัน
ได้เห็นท้าววาสวะผู้เป็นใหญ ่กว่าหมู่สัตว์ ข้าแต่ท้าวสักกะ หม่อมฉันได้
เห็นภิกษุและพระองค์แล้ว จักกระทำบุญไม่น้อย.
[๙๔๒] บุคคลเหล่าใด มีปัญญา เป็นพหูสูต สามารถคิดเหตุการณ์ได้มาก
บุคคลเหล่านั้น ควรคบหาโดยแท้เทียว ข้าแต่พระราชา พระองค์ได้ทรง
เห็นภิกษุและหม่อมฉันแล้ว จงทรงกระทำบุญให้มากเถิด.
[๙๔๓] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมเทพ หม่อมฉันจักเป็นผู้ไม่โกรธ มีจิตเลื่อมใส
เป็นนิตย์ จักเป็นผู้ควรแก่การขอของแข กผู้มาทุกประเภท จักกำจัด
มานะเสีย แล้วกราบไหว้ท่านผู้ควรกราบ ไหว้ เพราะได้ฟังคำที่พระองค์
ตรัสดีแล้ว.
พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
หน้าที่ ๒๘๕/๒๙๐ ข้อที่ ๕๙๓-๕๙๕
************************** *****
อ่านพุทธวจน เพิ่มเติมได้จาก โปรแกรม E-Tipitaka
http://etipitaka.com/ read?keywords=การไหว้+๓+&la nguage=thai&number=285&vol ume=20
************************** ******
ฟังพุทธวจน บรรยายได้ที่ www.watnapp.com
— กับตักสิลา ล่องไพร และ ฟ้า ฟ้า
**************************
วันทนาสูตร
[๕๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย การไหว้ ๓ อย่างนี้
๓ อย่างเป็นไฉน คือ
ไหว้ทางกาย ๑
ไหว้ทางวาจา ๑
ไหว้ทางใจ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย การไหว้๓ อย่างนี้แล ฯ
[๙๓๗] ท่านมีรูปงาม ประนมมือนอบน้อมสมณะผู้มีรู
ประเสริฐกว่าท่าน หรือว่าเสมอกับท่าน ท่านจงบอกชื่อสมณะนั้นและ
ชื่อของตนแก่เรา.
[๙๓๘] ข้าแต่พระราชา เทวดาทั้งหลาย ย่อมไม่ถือเอานามและโคตรของ
พระขีณาสพผู้พร้อมเพรียงกัน
ชื่อของหม่อมฉันแก่พระองค์ หม่อมฉันเป็นท้าวสักกะจอมเท
ไตรทศทั้งหลาย.
[๙๓๙] ข้าแต่เทวราช หม่อมฉันขอถามเนื้อความนี้ก
ผู้ประกอบด้วยจรณะแล้วประนม
ไปแล้ว จะได้ความสุขอะไร?
[๙๔๐] ผู้ใด เห็นภิกษุผู้ประกอบด้วยจรณะ
ผู้นั้น ย่อมได้ความสรรเสริญในปัจจุ
ไปสวรรค์.
[๙๔๑] ปัญญารู้ผลแห่งกุศล และอกุศลเกิดขึ้นแก่หม่อมฉั
ได้เห็นท้าววาสวะผู้เป็นใหญ
เห็นภิกษุและพระองค์แล้ว จักกระทำบุญไม่น้อย.
[๙๔๒] บุคคลเหล่าใด มีปัญญา เป็นพหูสูต สามารถคิดเหตุการณ์ได้มาก
บุคคลเหล่านั้น ควรคบหาโดยแท้เทียว ข้าแต่พระราชา พระองค์ได้ทรง
เห็นภิกษุและหม่อมฉันแล้ว จงทรงกระทำบุญให้มากเถิด.
[๙๔๓] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมเทพ
เป็นนิตย์ จักเป็นผู้ควรแก่การขอของแข
มานะเสีย แล้วกราบไหว้ท่านผู้ควรกราบ
ตรัสดีแล้ว.
พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๒๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
หน้าที่ ๒๘๕/๒๙๐ ข้อที่ ๕๙๓-๕๙๕
**************************
อ่านพุทธวจน เพิ่มเติมได้จาก โปรแกรม E-Tipitaka
http://etipitaka.com/
**************************
ฟังพุทธวจน บรรยายได้ที่ www.watnapp.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น